205 186 150 #CDBA96
บล็อกนี้
ลิงก์จากที่นี่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เว็บ
บล็อกนี้
ลิงก์จากที่นี่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เว็บ
การวัดความเร็วและทิศทางของลม
ลม คือการเคลื่อนไหวของอากาศ ถ้าลมแรงก็หมายถึงว่ามวลของอากาศเคลื่อนตัวไปมากและเร็วในอุตุนิยมวิทยา การวัดลมจำต้องวัดทั้งทิศของลมและอัตราหรือความเร็วของลม สำหรับการวัดทิศของลมนั้นเราใช้ศรลม (wind vane) ส่วนการวัดความเร็วของลม เราใช้เครื่องมือที่เรียกว่า "อะนีมอมิเตอร์"(anemometer) ซึ่งมีหลายชนิด แต่ส่วนมากใช้แบบใบพัดหรือกังหัน หรือใช้แบบถ้วยกลมสามใบและมีก้านสามก้านต่อมารวมกันที่แกนกลาง จากแกนกลางจะมีแกนต่อลงมายังเบื้องล่าง เมื่อกังหันหมุนจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะทำให้เข็มที่หน้าปัดชี้แสดงความเร็วของลมคล้ายๆ กับหน้าปัดที่บอกความเร็วของรถยนต์
การวัดความเร็วและทิศของลม อาจทำได้โดยใช้เครื่องมืออีกชนิดหนึ่งเรียกว่า "ใบพัดลม" ซึ่งสามารถวัดความเร็วและทิศได้พร้อมกัน ในการวัดความเร็วของลมมีหน่วยที่ใช้กันอยู่หลายหน่วย แล้วแต่ว่าผู้ใช้จะนิยมและสะดวกที่จะใช้หน่วยใด เช่น
นอต หรือไมล์ทะเลต่อชั่วโมง
กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ไมล์ (บก) ต่อชั่วโมง

นอกจากเครื่องวัดลมชนิดดังกล่าวแล้ว ยังมีเครื่องบันทึกความเร็วและทิศของลมอยู่ตลอดเวลาด้วย เครื่องบันทึกลมนี้เรียกว่า อะนีมอกราฟ (anemograph) ซึ่งสามารถบันทึกความเร็วและทิศของลมได้ตามที่เราต้องการ
[กลับหัวข้อหลัก]

เครื่องวัดทิศทางและความเร็วของลมแบบใบพัด

[ดูภาพทั้งหมดในเรื่องนี้]
มาตราลมโบฟอร์ต
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ พลเรือเอก เซอร์ ฟรานซิสโบฟอร์ต (Admiral Sir Francis Beaufort, ค.ศ. ๑๗๗๔-๑๘๕๗, ชาวอังกฤษ) แห่งราชนาวีอังกฤษได้พัฒนามาตราส่วนสำหรับคาดคะเนความเร็วของลมไว้ใช้ในการ เดินเรือใบ เรียกว่า มาตราลมโบฟอร์ต (Beau-fort wind scale) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันทั่วไป และแบ่งกำลังออกเป็น ๑๓ ชั้น คือ ตั้งแต่ ๐ ถึง ๑๒ โดยมีคำบรรยายเครื่องหมายและเปรียบเทียบความเร็ว
ที่มา
http://guru.sanook.com/encyclopedia/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8/
แรงดันอากาศ

แรงดันของอากาศหรือ ความดันของอากาศ นั้น ในการพยากรณ์อากาศจะเรียกว่า ความกดอากาศ จะมีอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากอากาศห่อหุ้มโลกอยู่เป็นจำนวนมาก จะมีน้ำหนักกดลงบนผิวโลก บนตัวเรา หรือ บนวัตถุต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา
ความกดดันของอากาศ มีค่าประมาณ 15 ปอนด์ ต่อ พื้นที่ 1 ตารางนิ้วที่ระดับน้ำทะเล ซึ่งเรียกความกดดันนี้ว่า "ความกดดัน 1 บรรยากาศ" ซึ่งเท่ากับ 760 มิลลิเมตรของปรอท
ในการวัดความดันอากาศ เรามักวัดเป็นส่วนสูงของน้ำ หรือส่วนสูงของปรอท ทอริเซลลิ (Toricelli) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียน เป็นคนแรกที่คิดหาความดันของอากาศโดยใช้ ปรอทศึกษาความดันบรรยากาศแล้วนำไปสร้างเครื่องมือวัดความดันบรรยากาศเรียก ว่า "บารอมิเตอร์" (baromiter)
บารอมิเตอร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดความดันอากาศ ที่นิยมใช้ ได้แก่
1.บารอมิเตอร์แบบปรอท สร้างขึ้นดดยใช้หลักการที่อากาศสามารถดันของเหลวให้เข้าไปในหลอดแก้ว เครื่องมือนี้ ประกอบด้วย หลอยแก้ว ปลายปิดด้านหนึ่งและไล่อากาศออก แล้วคว่ำหลอดแก้วลงในภาชนะที่บรรจุปรอท อากาศภายนอกจะดันปรอทเข้าสู่หลอดแก้ว ที่ระดับน้ำทะเล ลำปรอทในหลอดแก้วจะสูง 760 มิลลิเมตร (ถ้าใช้น้ำ แทนปรอท อากาศจะดันน้ำขึ้นสูง 10 เมตร เพราะน้ำเบากว่า 13.6 เท่า) ความดัน 1 บรรยากาศ คือความดันที่ทำให้ลำปรอทขึ้นสูง 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร
2.แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ เป็นตลับโลหะ อาจเป็นอลูมิเนียมรูปร่างกลมแบน ผิวเป็นคลื่น ก้นตลับติดกับกรอบโลหะที่แข็งแรง ภายในตลับสูบอากาศออกเกือบหมด ฝาตลับจึงบุบขึ้นลงตามความดันของอากาศภายนอก ตอนบนฝาตลับมีสปริงที่ต่อไปที่คานและเข็มซึ่งชี้บนหน้าปัดที่มีตัวเลขแสดง ความดันของอากาศ
3.บารอกราฟ เป็นเครื่องวัดความดันอากาศแบบแอนิรอยด์บารอมิเตอร์ แต่บันทุกความดันอากาศแบบต่อเนื่องกัน โดยแกนที่ขึ้นลงตามการบุบตัวของตลับโลหะ จะดันเข็มชี้ให้ปลายเข็ม เลื่อนขึ้นลงบนกระดาษกราฟ ซึ่งหมุนตลอดเวลา เราจึงสามารถอ่านค่าความกดอากาศในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้ บารอมิเตอร์แบบนี้ใช้ในการพยากรณ์อากาศ

*ถ้าต้มน้ำในที่สูง จุดเดือดจะลดลงแต่ถ้าต้มในระดับน้ำทะเลจะมีจุดเดือด 100 องศา

แอลติมิเตอร์ (พัฒนา มาจากแอนิรอยด์บารอมิเตอร์) เป็นเครื่องวัดระดับความสูง ใช้หลักการแบบแอนิรอยด์ แต่ปรับหน้าปัดให้อ่านระดับความสูงได้ด้วย ใช้สำหรับบอกความสูงของเครื่องบินและติดตัวนักโดดร่ม เพื่อบอกความสูง


ถ้าเรามีความประสงค์จะบันทึกการเปลี่ยนแปลงความกดของอากาศตลอดชั่วโมง ตลอดวัน หรือตลอดเดือน ก็สามารถทำได้ โดยใช้แขนปากกาต่อกับกล่องโลหะ ซึ่งถูกดูดอากาศออกเป็นบางส่วน แล้วใช้แผ่นบักทึก ความกดม้วนรอบกระบอก ซึ่งหมุนด้วยลานนาฬิกา เครื่องบันทึกความกดอากาศนี้เรียกว่า "บารอกราฟ" (barograph)
ที่มา
http://nuaom086.blogspot.com/2009_12_01_archive.html
http://guru.sanook.com/encyclopedia/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8/
ชื่อพายุ (I) ความหมาย ประเทศที่มา
Damrey ดอมเรย ช้าง กัมพูชา
Haikui ไห่คุ้ย - สาธารณรัฐประชาชนจีน
Kirogi ไคโรจิ ห่านป่า (ฝูงนกที่อพยพมาเกาหลีในฤดูใบไม้ร่วง และอพยพจากไปทางตอนเหนือในต้นฤดูใบไม้ผลิซึ่งมีพฤติกรรมคล้ายกับพายุไต้ฝุ่น) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Kai-tak ไคตั๊ก ชื่อสนามบินเก่าของฮ่องกง ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Tembin เทมบิง ราศีตุล ตาชั่ง ญี่ปุ่น
Bolaven โบลาเวน ที่ราบสูง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Sanba SAN-BA ชื่อสถานที่ในมาเก๊า Place name in Macoa มาเก๊า
Jelawat เจอลาวัต ชื่อปลาน้ำจืด มาเลเซีย
Ewiniar เอวิเนียร์ ชื่อเทพเจ้าแห่งพายุ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะชุก (Chuuk)] ไมโครนีเซีย
Mariksi MA-LIK-SI คำคุณศัพท์ในภาษาประจำชาติของฟิลิปปินส์(?)มีความหมายว่า"รวดเร็ว" Filipino adjective which means fast ฟิลิปปินส์
Gaemi เกมี มด สาธารณรัฐเกาหลี
Prapiroon พระพิรุณ ฃื่อเทพเจ้าแห่งฝน ไทย
Maria มาเรีย ชื่อผู้หญิง [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา (Mariana)ในมหาสมุทราแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Son Tinh SON-TING เทพเจ้าแห่งขุนเขาตามตำนานเทพของเวียดนาม (God of Mountain in Vietnamese myth) เวียดนาม
Bopha โบพา ชื่อดอกไม้ / ชื่อเด็กหญิง กัมพูชา
Wukong หวู่คง ชื่อวีรบุรุษในตำนานจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Sonamu โซนามุ ต้นส้น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Shanshan ซานซาน ชื่อหญิงสาว ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Yagi ยางิ ราศีมังกร แพะ ญี่ปุ่น
Leepi LEE-PI น้ำตกที่สวยที่สุดทางตอนใต้สุดของประเทศลาว(The most beautiful waterfall in the end of Southern of Lao) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Bebinca เบบินคา ชื่อขนมพุดดิงของมาเก๊า มาเก๊า
Rumbia รุมเบีย ต้นปาล์ม มาเลเซีย
Soulik ซูลิก ตำแหน่งหัวหน้าเผ่าโบราณของเกาะโปนเป (Pohnpei) ไมโครนีเซีย
Cimaron ซิมารอน วัวป่าในฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Jebi เชบี นกนางแอ่น สาธารณรัฐเกาหลี
Mangkhut มังคุด MUNG-KUUT ชื่อผลไม้ ไทย
Utor อูตอร์ แนวพายุฝนฟ้าคะนอง [ภาษาพื้นเมืองหมู่ชาวเกาะมาร์แชลล์ (Marshall)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Trami จ่ามี ชื่อดอกไม้ เวียดนาม
Kong-rey กองเรย ชื่อสาวงามในตำนานเขมร ชื่อภูเขา กัมพูชา
Yutu ยู่ทู่ กระต่ายในตำนานจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Toraji โทราจิ ชื่อต้นไม้ มีดอกสวยงาม พบในหุบเขาของเกาหลี รากใช้ทำอาหารและยา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Man-yi มานหยี่ ชื่อช่องแคบ ปัจจุบันเป็นอ่างเก็บน้ำ ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Usagi อุซางิ กระต่าย ญี่ปุ่น
Pabuk ปาบึก (ปลาบึก) ชื่อปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Wutip หวู่ติ๊บ ผีเสื้อ มาเก๊า
Sepat เซอปัต ปลาน้ำจืดซึ่งมีครีบเล็ก ๆ สำหรับคลาน มาเลเซีย
Fitow ฟิโทว์ ชื่อดอกไม้สวย มีกลิ่นหอม [ภาษาพื้นเมืองของเกาะยาป ( Yap) ] ไมโครนีเซีย
Danas ดานัส ประสบการณ์และความรู้สึก ฟิลิปปินส์
Nari นารี ดอกไม้ สาธารณรัฐเกาหลี
Wipha วิภา ชื่อผู้หญิง ไทย
Francisco ฟรานซิสโก ชื่อผู้ชาย [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา(Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Lekima เลกีมา ชื่อผลไม้ เวียดนาม
Krosa กรอซา ปั้นจั่น กัมพูชา
Haiyan ไห่เยี่ยน ชื่อนกทะเล สาธารณรัฐประชาชนจีน
Podul โพดอล ต้นหลิว ต้นไม้ที่มักพบในตัวเมืองและชนบทของเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Lingling เหล่งเหลง ชื่อหญิงสาว ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kajiki คะจิกิ ชื่อปลาทะเลที่เกล็ดจะเปลี่ยนสีเมื่อพ้นน้ำ ญี่ปุ่น
Faxai ฟ้าใส ชื่อผู้หญิง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
PEIPAH เพผ่า ชื่อปลาสวยงาม (แทน Vamei) มาเก๊า
(Vamei) (ฮัวเหม่ย) นกชนิดหนึ่งมีเสียงร้องไพเราะ
Tapah ตาปาห์ ชื่อปลาน้ำจืด มาเลเซีย
Mitag มิแทก ชื่อผู้หญิง {ภาษาพื้นเมืองของเกาะในประเทศไมโครนีเชีย} ไมโครนีเซีย
Hagibis ฮากิบิส รวดเร็ว ว่องไว ฟิลิปปินส์
Neoguri โนกูรี สนุขพันธุ์ราคูน สาธารณรัฐเกาหลี
Rammasun รามสูร ชื่อยักษ์ในเทพนิยายไทย ไทย
Chataan ชาทาอาน ฝน [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา(Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Halong หะลอง ชื่ออ่าวสวยงามในเวียดนาม เวียดนาม
Nakri นากรี ชื่อดอกไม้ กัมพูชา
Fengshen ฟงเฉิน ชื่อเทพเจ้าแห่งลม สาธารณรัฐประชาชนจีน
Kalmaegi คัลเมจิ นกนางนวล ( สัญลักษณ์แห่งท้องทะเล ) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Fung-wong ฟองวอง ชื่อยอดเขา ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kammuri คัมมุริ มงกุฎ ญี่ปุ่น
Phanfone พันฝน สัตว์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Vongfong หว่องฟง ชื่อแมลง มาเก๊า
Rusa รูซา กวาง มาเลเซีย
Sinlaku ซินลากอ ชื่อเทพธิดาในนิยาย ไมโครนีเซีย
Hagupit ฮากุปิต เฆี่ยนตี ฟิลิปปินส์
Jangmi ชังมี กุหลาบ สาธารณรัฐเกาหลี
Mekkhala เมขลา ชื่อเทพธิดาในเทพนิยายไทย ไทย
Higos ฮีโกส ชื่อพืชชนิดหนึ่ง [ภาษาพื้นเมืองหมู่เกาะมารีน่า(Mariana) ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐเมริกา
Bavi บาหวี่ ชื่อภูเขาในภาคเหนือของเวียดนาม เวียดนาม
Maysak ไม้สัก ชื่อต้นไม้ [ ภาษาพื้นเมืองชองหมู่เกาะมารีนา (Mariana) ในมหาสมุทรแปซิฟิก] กัมพูชา
Haishen ไห่เฉิน ชื่อเทพเจ้าแห่งท้องทะเล สาธารณรัฐประชาชนจีน
Pongsona พงโซนา ชื่อดอกไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Yanyan ยันยัน ชื่อสาวน้อย ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kujira คุจิระ ปลาวาฬ ญี่ปุ่น
Chan-hom จันหอม (จันทน์หอม) ชื่อต้นไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Linfa หลิ่นฟ้า ดอกบัว มาเก๊า
Nangka นังกา ชื่อผลไม้ มาเลเซีย
Soudelor เซาเดโลร์ ชื่อหัวหน้าเผ่าในเทพนิยายของชาวเกาะโปนเป( Pohnpei) ไมโครนีเซีย
Imbudo อิมบุโด พายุงวงช้าง ฟิลิปปินส์
Goni โคนี หงส์ซึ่งส่งเสียงร้อง สาธารณรัฐเกาหลี
Morakot มรกต มรกต ไทย
Etau เอตาว เมฆพายุ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะปาเลา (Palau)] สหรัฐอเมริกา
Vamco หว่ามก๋อ ชื่อแม่น้ำในภาคใต้ของเวียดนาม เวียดนาม
Krovann กรอวาญ ชื่อต้นไม้ กัมพูชา
(กระวาน)
Dujuan ตู้เจี้ยน ชื่อไม้ดอก สาธารณรัฐประชาชนจีน
Maemi เมมิ สัตว์ชนิดหนึ่งซึ่งมักส่งเสียงร้องในฤดูร้อน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
เมื่อเวลาเกิดพายุไต้ฝุ่นเข้าสู่ประเทศเกาหลี
Choi-wan ฉอยหวั่น เมฆซึ่งมีสีสันสวยงาม ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Koppu คอบปุ ปล่องภูเขาไฟ, หลุม หรือแก้ว ญี่ปุ่น
Kitsana กิสนา (กฤษณา) ชื่อต้นไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Parma ป้าหม่า อาหารชนิดหนึ่งของมาเก๊า ประกอบด้วยเนื้อสะโพก ตับ และเห็ด มาเก๊า
Melor เมอโลร์ ดอกมะลิ มาเลเซีย
Nepartak เนพาร์ตัก นักรบผู้มีชื่อเสียง ไมโครนีเซีย
Lupit ลูปีต ความโหดร้ายทารุณ ฟิลิปปินส์
Sudal ซูแดล นาก สาธารณรัฐเกาหลี
Nida นิดา ชื่อผู้หญิง ไทย
Omais โอไมส์ การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะปาเลา (Palau)] สหรัฐอเมริกา
Conson โกนเซิน ชื่อโบราณสถาน เวียดนาม
Chanthu จันทู ชื่อดอกไม้ กัมพูชา
Dianmu เตี้ยนหมู่ เจ้าแม่สายอสุนี สาธารณรัฐประชาชนจีน
Mindulle มินดอนเล ดอกไม้เล็ก ๆสีเหลืองบานในฤดูใบไม่ผลิ สื่อถึงจิตใจที่อ่อนโยนและบริสุทธิ์ของสาวเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Tingting เถ่งเถง ชื่อสาวน้อย ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kompasu คอมปาซุ วงเวียน ญี่ปุ่น
Namtheun น้ำเทิน ชื่อแม่น้ำ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Malou หม่าโหล หินโมรา มาเก๊า
Meranti เมอรันตี ชื่อต้นไม้ มาเลเซีย
Rananim รานานิม คำสวัสดี [ภาษาพื้นเมืองของเกาะชุก (Chuuk)] ไมโครนีเซีย
Malakas มาลากัส แข็งแกร่ง เต็มไปด้วยพลัง ฟิลิปปินส์
Megi เมกี ปลา สาธารณรัฐเกาหลี
Chaba ชบา ดอกชบา (ดอกไม้เขตร้อนชนิดหนึ่ง) ไทย
Aere แอรี สหรัฐอเมริกา
Songda ซงด่า ชื่อแม่น้ำในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม เวียดนาม

Sarika สาลิกา ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชอบร้องเพลง กัมพูชา
Haima ไหหม่า ม้าน้ำ สาธารณรัฐประชาชนจีน
Meari มิอะริ เสียงสะท้อน(หมายถึง ทันทีที่เกิดพายุไต้ฝุ่น คำประกาศแจ้งของคณะกรรมการไต้ฝุ่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
ก็จะสะท้อนก้องไปสู่ประเทศสมาชิก)
Ma-on หมาง้อน อานม้า ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Tokage โทะคาเงะ สัตว์เลื้อยคลาน พวกจิ้งจก ตุ๊กแก ญี่ปุ่น
Nock-ten นกเตน (นกกระเต็น) ชื่อนก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Muifa หมุ่ยฟ้า ดอกพลัมบาน มาเก๊า
Merbok เมอร์บุก ชื่อนก มาเลเซีย
Namadol นันมาดอล โบราณสถานที่มีชื่อเสียงของโปนเป (Pohnpei) หรือ เวนิชแห่งแปซิฟิก ไมโครนีเซีย
Talas ตาลัส แหลมคม ฟิลิปปินส์
Noru โนรู กวาง สาธารณรัฐเกาหลี
Kulap กุหลาบ ชื่อดอกไม้ ไทย
Roke โรคี ชื่อผู้ชาย [ในภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา (Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Sonca เซินกา ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชอบร้องเพลง เวียดนาม
Nesat เนสาด ชาวประมง กัมพูชา
Haitang ไห่ถาง ชื่อผลไม้ของจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Nalgae นาลแก ปีก (หมายถึงการโบยบิน เคลื่อนที่ เคลื่อนไหวอย่างมีอิสระ) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Banyan บันยัน ชื่อต้นไม้ ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Washi วาชิ ชื่อหมู่ดาว นกอินทรีย์ ญี่ปุ่น
Matsa มัดสา (มัศยา,มัตสยา,มัสยา) ปลาตัวเมีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Sanvu ซันหวู่ หินปะการัง มาเก๊า
Mawar มาวาร์ กุหลาบ มาเลเซีย
Guchol กูโชล เครื่องเทศชนิดหนึ่ง ไมโครนีเซีย
Talim ตาลิม แหลมคม หรือ ด้านคมของใบมีด ฟิลิปปินส์
Nabi นาบี ผีเสื้อ สาธารณรัฐเกาหลี
Khanun ขนุน ชื่อผลไม้ ไทย
Vicente วีเซนเต เมฆ [ภาษาชามาร์โร Chamarro)] สหรัฐอเมริกา
Saola ซาวลา สัตว์ชนิดหนึ่ง ค้นพบในเวียดนาม เวียดนาม
มีผลตั้งแต่ 1 มกราคม 2551 (จากการประชุมคณะกรรมการไต้ฝุ่นครั้งที่ 40 ณ ประเทศมาเก๊า ระหว่างวันที่ 21-26 พฤศจิกายน 2550 )
ที่มา
http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=28





หลวงพ่อเดิม ผู้ซึ่งได้รับการขนานนามและยกย่องเป็น “เทพเจ้าแห่งเมืองสี่แคว”
หลวงพ่อเดิม ผู้ซึ่งได้รับการขนานนามและยกย่องเป็น “เทพเจ้าแห่งเมืองสี่แคว”





ไหว้เจ้า เสริมดวงชะตา รับ ตรุษจีน2553 นี้


ไหว้เจ้า เสริมดวงชะตา รับ ตรุษจีน2553 นี้ตรุษจีน ปี2553 ทุกราศีควรไปไหว้ เทพเจ้าเสริมดวงชะตา ดังนี้ปีชวด(หนู)ให้ไปไหว้ขอพร “องค์ซำกวง” หรือ “เทพ 3 ตา” วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กรุงเทพปีฉลู(วัว)ให้ไปไหว้ขอพร “เทพหั่วท้อ” หรือ “หมออูโต๋ว” (หมดเทวดา) ที่วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กทม.ปีขาล(เสือ)ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)ปีเถาะ(กระต่าย)ให้ไปไหว้ขอพร “เทพเจ้าไท้เอี๊ยง” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่มังกรกมลาวาส หรือ วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กทม.ปีมะโรง(งูใหญ่) ให้ไปไหว้ขอพร “เทพเทียงเต็ก” ไหว้ฟ้าดิน หรือไหว้ที่เสาทีกงได้ทุกศาลเจ้าปีมะเส็ง(งูเล็ก)ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)“องค์ไท้อิม” ที่วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กทม.ปีมะเมีย(ม้า)ให้ไปไหว้ขอพร “องค์เจี้ยงแซ” ไหว้ “เทพเจ้ากวนอู” ที่ ศาลเจ้ากวนตี่ เยาวราชหรือที่ไหนก็ได้ที่มีปีมะแม(แพะ) ให้ไปไหว้ขอพร “เทพห่วยเต็ก” ไหว้ “เจ้าแม่กวนอิม” ที่ มูลนิธิเทียนฟ้า เยาวราช หรือทุกศาลเจ้าที่มีปีวอก(ลิง) ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)ปีระกา(ไก่) ให้ไปไหว้ขอพร “เทพเหล่งเต็ก” ไหว้ “องค์แป๊ะกง” ได้ทุกศาลเจ้าที่มีแป๊ะกงปีจอ(หมา) ให้ไปไหว้ขอพร “องค์ตั่วเหล่าเอี๊ย” ได้ทุกศาลเจ้าที่มีเจ้าพ่อเสือปีกุน(หมู) ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)"องค์กวนอู” ไหว้ “เทพเจ้ากวนอู” ที่ ศาลเจ้ากวนตี่ เยาวราช หรือ ที่ไหนก็ได้ที่มีถ้า ไม่สามารถไปไหว้เทพเจ้าเสริมดวงชะตาตามที่แนะนำตามศาลเจ้าที่บอกได้ให้ดูตาม ศาลเจ้าหรือวัดใกล้บ้านที่มีเทพเจ้าเสริมดวงชะตาตามปีเกิดของคุณแล้วขอพรจากองค์เทพนั้นโดยตรง โดยอธิฐานดังนี้ข้าพเจ้า ขอกราบบูชาและต้อนรับ”.....(ชื่อเทพเจ้าที่เสริมดวงชะตาปี2553 ประจำปีเกิดของคุณ)” ซึ่งมาสถิตในเรือนชะตาของ ข้าพเจ้า (ชื่อ-นามสกุล)ด้วยความศรัทธายิ่งขอได้โปรดประทานพรให้ข้าพเจ้า ปราศจากอุปสรรค แคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งหลายทั้งปวง พร้อมทั้งประทานความสำเร็จ ความสุขความเจริญ มีสิริมงคล สุขภาพแข็งแรง และโชคดีตลอดปี2553 แก่ข้าพเจ้า เทอญ...สาธุตรุษจีน หรือ เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ หรือ ขึ้นปีเพาะปลูกใหม่ และยังรู้จักกันในนาม วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของชาวจีนในจีนแผ่นดินใหญ่และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 ของปีตามจันทรคติ และสิ้นสุดในวันที่ 15 ซึ่งจะเป็นเทศกาลประดับโคมไฟในวันตรุษจีนจะมีการเฉลิมฉลองทั่วโลกโดยเฉพาะชุมชนเชื้อสายจีนขนาดใหญ่ และตรุษจีนถือเป็นวันหยุดที่สำคัญมากช่วงหนึ่งของชาวจีน และยังแผ่อิทธิพลไปถึงการฉลองปีใหม่ของชนชาติที่อยู่รายรอบ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เมี่ยน ม้ง มองโกเลีย เวียดนาม ทิเบต เนปาล และภูฐาน สำหรับชาวจีนที่อาศัยอยู่ต่างถิ่นกันก็จะมีประเพณีเฉลิมฉลองต่างกันไป ในประเทศไทยชาวไทยเชื้อสายจีนจะถือประเพณีปฏิบัติอยู่ 3 วัน คือวันจ่าย วันไหว้ และวันเที่ยววันจ่าย คือวันก่อนวันสิ้นปี เป็นวันที่ชาวไทยเชื้อสายจีนจะต้องไปซื้ออาหารผลไม้และเครื่องเซ่นไหว้ต่างๆ ก่อนที่ร้านค้าทั้งหลายจะปิดร้านหยุดพักผ่อนยาว ในตอนค่ำจะมีการจุดธูปอัญเชิญเจ้าที่ ให้ลงมาจากสวรรค์เพื่อรับการสักการบูชาของเจ้าบ้าน หลังจากที่ได้ไหว้อัญเชิญขึ้นสวรรค์เมื่อ 4 วันที่แล้ววันไหว้ คือวันสิ้นปี จะมีการไหว้ 3 ครั้ง คือตอนเช้ามืดจะไหว้ "ไป่เล่าเอี๊ย" เป็นการไหว้เทพเจ้าต่างๆ เครื่องไหว้คือ เนื้อสัตว์สามอย่าง (ซาแซ) ได้แก่ หมู เป็ด ไก่ หรือเพิ่มตับ ปลา เป็นเนื้อสัตว์ห้าอย่าง (โหงวแซ) เหล้า น้ำชา และกระดาษเงินกระดาษทองตอนสาย จะไหว้ "ไป่แป๋บ้อ" คือการไหว้บรรพบุรุษ พ่อแม่ญาติพี่น้องที่ถึงแก่กรรมไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูตาม คติจีน การไหว้ครั้งนี้จะไหว้ไม่เกินเที่ยง เครื่องไหว้จะประกอบด้วย ซาแซ อาหารคาวหวาน (ส่วนมากจะทำตามที่ผู้ที่ล่วงลับเคยชอบ) รวมทั้งการเผากระดาษเงินกระดาษทอง เสื้อผ้ากระดาษเพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ หลังจากนั้น ญาติพี่น้องจะมารวมกันรับประทานอาหารที่ได้เซ่นไหว้ไปเป็นสิริมงคล และถือเป็นเวลาที่ครอบครัวหรือวงศ์ตระกูลจะรวมตัวกันได้มากที่สุด จะแลกเปลี่ยนอั่งเปาหลังจากรับประทานอาหารร่วมกันแล้วตอนบ่าย จะไหว้ "ไป่ฮ่อเฮียตี๋" เป็นการไหว้ผีพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว เครื่องไหว้จะเป็นพวกขนมเข่ง ขนมเทียน เผือกเชื่อมน้ำตาล กระดาษเงินกระดาษทอง พร้อมทั้งมีการจุดประทัดเพื่อไล่สิ่งชั่วร้ายและเพื่อเป็นสิริมงคลวันเที่ยว หรือ วันถือ คือวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันที่หนึ่ง ของเดือนที่หนึ่งของปี วันนี้ชาวจีนจะถือธรรมเนียมโบราณที่ยังปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันคือ "ไป่เจีย" เป็นการไหว้ขอพรและอวยพรจากญาติผู้ใหญ่และผู้ที่เคารพรัก โดยนำส้มสีทองไปมอบให้ เหตุที่ให้ส้มก็เพราะส้มออกเสียงภาษาจีนแต้จิ๋วว่า "กิก" ซึ่งไปพ้องกับคำว่าความสุขหรือโชคลาภ เพราะฉะนั้นการให้ส้มจึงเหมือนนำความสุขหรือโชคลาภไปให้ จะมอบส้มจำนวน 4 ผล ห่อด้วยผ้าเช็ดหน้าของผู้ชาย เหตุที่เรียกวันนี้ว่าวันถือคือ เป็นวันที่ชาวจีนถือว่าเป็นสิริมงคล งดการทำบาป จะมีคติถือบางอย่าง เช่น ไม่พูดจาไม่ดีต่อกัน ไม่ทวงหนี้กัน ไม่จับไม้กวาด และจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าใหม่แล้วออกเยี่ยมอวยพรและพักผ่อนนอกบ้าน เป็นต้นสัญลักษณ์อีกอย่างของเทศกาลนี้ คือ อั่งเปา (ซองแดง) คือ ซองแดงใส่เงินที่ผู้ใหญ่แล้วจะมอบให้ผู้น้อย และมีการแลกเปลี่ยนกันเอง หรือ หรือจะใช้คำว่า แต๊ะเอีย (ผูกเอว) ที่มาคือในสมัยก่อน เหรียญจะมีรูตรงกลาง ผู้ใหญ่จะร้อยด้วยเชือกสีแดงเป็นพวงๆ และนำมามอบให้เด็กๆ เด็กๆ ก็จะนำมาผูกเก็บไว้ที่เอวในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะกล่าวคำ ห่ออ่วย หรอคำอวยพรภาษาจีนให้กัน หรือมีการติดห่ออ่วยไว้ตามสถานที่ต่างๆ คำที่นิยมใช้กันได้แก่แต้จิ๋ว: ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้ จีนกลาง: ซินเจิ้งหรูอี้ ซินเหนียนฟาฉาย แปลว่า ขอให้ประสบโชคดี ขอให้มั่งมีปีใหม่เกียฮ่อซินนี้ ซินนี้ตั้วถั่น แปลว่า สวัสดีปีใหม่ ขอให้ร่ำรวยๆอีกฝ่ายก็จะกล่าวตอบว่า ตั่งตังยู่อี่ แปลว่า ขอให้สุขสมหวังเช่นกัน








ไหว้เจ้า เสริมดวงชะตา รับ ตรุษจีน2553 นี้

ไหว้เจ้า เสริมดวงชะตา รับ ตรุษจีน2553 นี้ตรุษจีน ปี2553 ทุกราศีควรไปไหว้ เทพเจ้าเสริมดวงชะตา ดังนี้ปีชวด(หนู)ให้ไปไหว้ขอพร “องค์ซำกวง” หรือ “เทพ 3 ตา” วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กรุงเทพปีฉลู(วัว)ให้ไปไหว้ขอพร “เทพหั่วท้อ” หรือ “หมออูโต๋ว” (หมดเทวดา) ที่วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กทม.ปีขาล(เสือ)ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)ปีเถาะ(กระต่าย)ให้ไปไหว้ขอพร “เทพเจ้าไท้เอี๊ยง” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่มังกรกมลาวาส หรือ วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กทม.ปีมะโรง(งูใหญ่) ให้ไปไหว้ขอพร “เทพเทียงเต็ก” ไหว้ฟ้าดิน หรือไหว้ที่เสาทีกงได้ทุกศาลเจ้าปีมะเส็ง(งูเล็ก)ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)“องค์ไท้อิม” ที่วัดทิพย์วารี หลังจราจรกลาง ถ.ตรีเพชร กทม.ปีมะเมีย(ม้า)ให้ไปไหว้ขอพร “องค์เจี้ยงแซ” ไหว้ “เทพเจ้ากวนอู” ที่ ศาลเจ้ากวนตี่ เยาวราชหรือที่ไหนก็ได้ที่มีปีมะแม(แพะ) ให้ไปไหว้ขอพร “เทพห่วยเต็ก” ไหว้ “เจ้าแม่กวนอิม” ที่ มูลนิธิเทียนฟ้า เยาวราช หรือทุกศาลเจ้าที่มีปีวอก(ลิง) ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)ปีระกา(ไก่) ให้ไปไหว้ขอพร “เทพเหล่งเต็ก” ไหว้ “องค์แป๊ะกง” ได้ทุกศาลเจ้าที่มีแป๊ะกงปีจอ(หมา) ให้ไปไหว้ขอพร “องค์ตั่วเหล่าเอี๊ย” ได้ทุกศาลเจ้าที่มีเจ้าพ่อเสือปีกุน(หมู) ให้ไปไหว้ขอพร “ไท้ส่วยเอี๊ย” ที่ศาลเจ้าเล่งเน่ยยี่ มังกรกมลาวาส(ทำแก้ชง)"องค์กวนอู” ไหว้ “เทพเจ้ากวนอู” ที่ ศาลเจ้ากวนตี่ เยาวราช หรือ ที่ไหนก็ได้ที่มีถ้า ไม่สามารถไปไหว้เทพเจ้าเสริมดวงชะตาตามที่แนะนำตามศาลเจ้าที่บอกได้ให้ดูตาม ศาลเจ้าหรือวัดใกล้บ้านที่มีเทพเจ้าเสริมดวงชะตาตามปีเกิดของคุณแล้วขอพรจากองค์เทพนั้นโดยตรง โดยอธิฐานดังนี้ข้าพเจ้า ขอกราบบูชาและต้อนรับ”.....(ชื่อเทพเจ้าที่เสริมดวงชะตาปี2553 ประจำปีเกิดของคุณ)” ซึ่งมาสถิตในเรือนชะตาของ ข้าพเจ้า (ชื่อ-นามสกุล)ด้วยความศรัทธายิ่งขอได้โปรดประทานพรให้ข้าพเจ้า ปราศจากอุปสรรค แคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งหลายทั้งปวง พร้อมทั้งประทานความสำเร็จ ความสุขความเจริญ มีสิริมงคล สุขภาพแข็งแรง และโชคดีตลอดปี2553 แก่ข้าพเจ้า เทอญ...สาธุตรุษจีน หรือ เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ หรือ ขึ้นปีเพาะปลูกใหม่ และยังรู้จักกันในนาม วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของชาวจีนในจีนแผ่นดินใหญ่และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 ของปีตามจันทรคติ และสิ้นสุดในวันที่ 15 ซึ่งจะเป็นเทศกาลประดับโคมไฟในวันตรุษจีนจะมีการเฉลิมฉลองทั่วโลกโดยเฉพาะชุมชนเชื้อสายจีนขนาดใหญ่ และตรุษจีนถือเป็นวันหยุดที่สำคัญมากช่วงหนึ่งของชาวจีน และยังแผ่อิทธิพลไปถึงการฉลองปีใหม่ของชนชาติที่อยู่รายรอบ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เมี่ยน ม้ง มองโกเลีย เวียดนาม ทิเบต เนปาล และภูฐาน สำหรับชาวจีนที่อาศัยอยู่ต่างถิ่นกันก็จะมีประเพณีเฉลิมฉลองต่างกันไป ในประเทศไทยชาวไทยเชื้อสายจีนจะถือประเพณีปฏิบัติอยู่ 3 วัน คือวันจ่าย วันไหว้ และวันเที่ยววันจ่าย คือวันก่อนวันสิ้นปี เป็นวันที่ชาวไทยเชื้อสายจีนจะต้องไปซื้ออาหารผลไม้และเครื่องเซ่นไหว้ต่างๆ ก่อนที่ร้านค้าทั้งหลายจะปิดร้านหยุดพักผ่อนยาว ในตอนค่ำจะมีการจุดธูปอัญเชิญเจ้าที่ ให้ลงมาจากสวรรค์เพื่อรับการสักการบูชาของเจ้าบ้าน หลังจากที่ได้ไหว้อัญเชิญขึ้นสวรรค์เมื่อ 4 วันที่แล้ววันไหว้ คือวันสิ้นปี จะมีการไหว้ 3 ครั้ง คือตอนเช้ามืดจะไหว้ "ไป่เล่าเอี๊ย" เป็นการไหว้เทพเจ้าต่างๆ เครื่องไหว้คือ เนื้อสัตว์สามอย่าง (ซาแซ) ได้แก่ หมู เป็ด ไก่ หรือเพิ่มตับ ปลา เป็นเนื้อสัตว์ห้าอย่าง (โหงวแซ) เหล้า น้ำชา และกระดาษเงินกระดาษทองตอนสาย จะไหว้ "ไป่แป๋บ้อ" คือการไหว้บรรพบุรุษ พ่อแม่ญาติพี่น้องที่ถึงแก่กรรมไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูตาม คติจีน การไหว้ครั้งนี้จะไหว้ไม่เกินเที่ยง เครื่องไหว้จะประกอบด้วย ซาแซ อาหารคาวหวาน (ส่วนมากจะทำตามที่ผู้ที่ล่วงลับเคยชอบ) รวมทั้งการเผากระดาษเงินกระดาษทอง เสื้อผ้ากระดาษเพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ หลังจากนั้น ญาติพี่น้องจะมารวมกันรับประทานอาหารที่ได้เซ่นไหว้ไปเป็นสิริมงคล และถือเป็นเวลาที่ครอบครัวหรือวงศ์ตระกูลจะรวมตัวกันได้มากที่สุด จะแลกเปลี่ยนอั่งเปาหลังจากรับประทานอาหารร่วมกันแล้วตอนบ่าย จะไหว้ "ไป่ฮ่อเฮียตี๋" เป็นการไหว้ผีพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว เครื่องไหว้จะเป็นพวกขนมเข่ง ขนมเทียน เผือกเชื่อมน้ำตาล กระดาษเงินกระดาษทอง พร้อมทั้งมีการจุดประทัดเพื่อไล่สิ่งชั่วร้ายและเพื่อเป็นสิริมงคลวันเที่ยว หรือ วันถือ คือวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันที่หนึ่ง ของเดือนที่หนึ่งของปี วันนี้ชาวจีนจะถือธรรมเนียมโบราณที่ยังปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันคือ "ไป่เจีย" เป็นการไหว้ขอพรและอวยพรจากญาติผู้ใหญ่และผู้ที่เคารพรัก โดยนำส้มสีทองไปมอบให้ เหตุที่ให้ส้มก็เพราะส้มออกเสียงภาษาจีนแต้จิ๋วว่า "กิก" ซึ่งไปพ้องกับคำว่าความสุขหรือโชคลาภ เพราะฉะนั้นการให้ส้มจึงเหมือนนำความสุขหรือโชคลาภไปให้ จะมอบส้มจำนวน 4 ผล ห่อด้วยผ้าเช็ดหน้าของผู้ชาย เหตุที่เรียกวันนี้ว่าวันถือคือ เป็นวันที่ชาวจีนถือว่าเป็นสิริมงคล งดการทำบาป จะมีคติถือบางอย่าง เช่น ไม่พูดจาไม่ดีต่อกัน ไม่ทวงหนี้กัน ไม่จับไม้กวาด และจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าใหม่แล้วออกเยี่ยมอวยพรและพักผ่อนนอกบ้าน เป็นต้นสัญลักษณ์อีกอย่างของเทศกาลนี้ คือ อั่งเปา (ซองแดง) คือ ซองแดงใส่เงินที่ผู้ใหญ่แล้วจะมอบให้ผู้น้อย และมีการแลกเปลี่ยนกันเอง หรือ หรือจะใช้คำว่า แต๊ะเอีย (ผูกเอว) ที่มาคือในสมัยก่อน เหรียญจะมีรูตรงกลาง ผู้ใหญ่จะร้อยด้วยเชือกสีแดงเป็นพวงๆ และนำมามอบให้เด็กๆ เด็กๆ ก็จะนำมาผูกเก็บไว้ที่เอวในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะกล่าวคำ ห่ออ่วย หรอคำอวยพรภาษาจีนให้กัน หรือมีการติดห่ออ่วยไว้ตามสถานที่ต่างๆ คำที่นิยมใช้กันได้แก่แต้จิ๋ว: ซินเจียยู่อี่ ซินนี้ฮวดไช้ จีนกลาง: ซินเจิ้งหรูอี้ ซินเหนียนฟาฉาย แปลว่า ขอให้ประสบโชคดี ขอให้มั่งมีปีใหม่เกียฮ่อซินนี้ ซินนี้ตั้วถั่น แปลว่า สวัสดีปีใหม่ ขอให้ร่ำรวยๆอีกฝ่ายก็จะกล่าวตอบว่า ตั่งตังยู่อี่ แปลว่า ขอให้สุขสมหวังเช่นกัน




ชื่อพายุ (I) ความหมาย ประเทศที่มาDamrey ดอมเรย ช้าง กัมพูชาHaikui ไห่คุ้ย - สาธารณรัฐประชาชนจีนKirogi ไคโรจิ ห่านป่า (ฝูงนกที่อพยพมาเกาหลีในฤดูใบไม้ร่วง และอพยพจากไปทางตอนเหนือในต้นฤดูใบไม้ผลิซึ่งมีพฤติกรรมคล้ายกับพายุไต้ฝุ่น) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีKai-tak ไคตั๊ก ชื่อสนามบินเก่าของฮ่องกง ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Tembin เทมบิง ราศีตุล ตาชั่ง ญี่ปุ่นBolaven โบลาเวน ที่ราบสูง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวSanba SAN-BA ชื่อสถานที่ในมาเก๊า Place name in Macoa มาเก๊าJelawat เจอลาวัต ชื่อปลาน้ำจืด มาเลเซียEwiniar เอวิเนียร์ ชื่อเทพเจ้าแห่งพายุ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะชุก (Chuuk)] ไมโครนีเซียMariksi MA-LIK-SI คำคุณศัพท์ในภาษาประจำชาติของฟิลิปปินส์(?)มีความหมายว่า"รวดเร็ว" Filipino adjective which means fast ฟิลิปปินส์Gaemi เกมี มด สาธารณรัฐเกาหลีPrapiroon พระพิรุณ ฃื่อเทพเจ้าแห่งฝน ไทยMaria มาเรีย ชื่อผู้หญิง [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา (Mariana)ในมหาสมุทราแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกาSon Tinh SON-TING เทพเจ้าแห่งขุนเขาตามตำนานเทพของเวียดนาม (God of Mountain in Vietnamese myth) เวียดนามBopha โบพา ชื่อดอกไม้ / ชื่อเด็กหญิง กัมพูชาWukong หวู่คง ชื่อวีรบุรุษในตำนานจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนSonamu โซนามุ ต้นส้น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีShanshan ซานซาน ชื่อหญิงสาว ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Yagi ยางิ ราศีมังกร แพะ ญี่ปุ่นLeepi LEE-PI น้ำตกที่สวยที่สุดทางตอนใต้สุดของประเทศลาว(The most beautiful waterfall in the end of Southern of Lao) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวBebinca เบบินคา ชื่อขนมพุดดิงของมาเก๊า มาเก๊าRumbia รุมเบีย ต้นปาล์ม มาเลเซียSoulik ซูลิก ตำแหน่งหัวหน้าเผ่าโบราณของเกาะโปนเป (Pohnpei) ไมโครนีเซียCimaron ซิมารอน วัวป่าในฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์Jebi เชบี นกนางแอ่น สาธารณรัฐเกาหลีMangkhut มังคุด MUNG-KUUT ชื่อผลไม้ ไทยUtor อูตอร์ แนวพายุฝนฟ้าคะนอง [ภาษาพื้นเมืองหมู่ชาวเกาะมาร์แชลล์ (Marshall)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกาTrami จ่ามี ชื่อดอกไม้ เวียดนามKong-rey กองเรย ชื่อสาวงามในตำนานเขมร ชื่อภูเขา กัมพูชาYutu ยู่ทู่ กระต่ายในตำนานจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนToraji โทราจิ ชื่อต้นไม้ มีดอกสวยงาม พบในหุบเขาของเกาหลี รากใช้ทำอาหารและยา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีMan-yi มานหยี่ ชื่อช่องแคบ ปัจจุบันเป็นอ่างเก็บน้ำ ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Usagi อุซางิ กระต่าย ญี่ปุ่นPabuk ปาบึก (ปลาบึก) ชื่อปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวWutip หวู่ติ๊บ ผีเสื้อ มาเก๊าSepat เซอปัต ปลาน้ำจืดซึ่งมีครีบเล็ก ๆ สำหรับคลาน มาเลเซียFitow ฟิโทว์ ชื่อดอกไม้สวย มีกลิ่นหอม [ภาษาพื้นเมืองของเกาะยาป ( Yap) ] ไมโครนีเซียDanas ดานัส ประสบการณ์และความรู้สึก ฟิลิปปินส์Nari นารี ดอกไม้ สาธารณรัฐเกาหลีWipha วิภา ชื่อผู้หญิง ไทยFrancisco ฟรานซิสโก ชื่อผู้ชาย [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา(Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกาLekima เลกีมา ชื่อผลไม้ เวียดนามKrosa กรอซา ปั้นจั่น กัมพูชาHaiyan ไห่เยี่ยน ชื่อนกทะเล สาธารณรัฐประชาชนจีนPodul โพดอล ต้นหลิว ต้นไม้ที่มักพบในตัวเมืองและชนบทของเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีLingling เหล่งเหลง ชื่อหญิงสาว ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Kajiki คะจิกิ ชื่อปลาทะเลที่เกล็ดจะเปลี่ยนสีเมื่อพ้นน้ำ ญี่ปุ่นFaxai ฟ้าใส ชื่อผู้หญิง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวPEIPAH เพผ่า ชื่อปลาสวยงาม (แทน Vamei) มาเก๊า(Vamei) (ฮัวเหม่ย) นกชนิดหนึ่งมีเสียงร้องไพเราะ Tapah ตาปาห์ ชื่อปลาน้ำจืด มาเลเซียMitag มิแทก ชื่อผู้หญิง {ภาษาพื้นเมืองของเกาะในประเทศไมโครนีเชีย} ไมโครนีเซียHagibis ฮากิบิส รวดเร็ว ว่องไว ฟิลิปปินส์Neoguri โนกูรี สนุขพันธุ์ราคูน สาธารณรัฐเกาหลีRammasun รามสูร ชื่อยักษ์ในเทพนิยายไทย ไทยChataan ชาทาอาน ฝน [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา(Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกาHalong หะลอง ชื่ออ่าวสวยงามในเวียดนาม เวียดนามNakri นากรี ชื่อดอกไม้ กัมพูชาFengshen ฟงเฉิน ชื่อเทพเจ้าแห่งลม สาธารณรัฐประชาชนจีนKalmaegi คัลเมจิ นกนางนวล ( สัญลักษณ์แห่งท้องทะเล ) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีFung-wong ฟองวอง ชื่อยอดเขา ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Kammuri คัมมุริ มงกุฎ ญี่ปุ่นPhanfone พันฝน สัตว์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวVongfong หว่องฟง ชื่อแมลง มาเก๊าRusa รูซา กวาง มาเลเซียSinlaku ซินลากอ ชื่อเทพธิดาในนิยาย ไมโครนีเซียHagupit ฮากุปิต เฆี่ยนตี ฟิลิปปินส์Jangmi ชังมี กุหลาบ สาธารณรัฐเกาหลีMekkhala เมขลา ชื่อเทพธิดาในเทพนิยายไทย ไทยHigos ฮีโกส ชื่อพืชชนิดหนึ่ง [ภาษาพื้นเมืองหมู่เกาะมารีน่า(Mariana) ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐเมริกาBavi บาหวี่ ชื่อภูเขาในภาคเหนือของเวียดนาม เวียดนามMaysak ไม้สัก ชื่อต้นไม้ [ ภาษาพื้นเมืองชองหมู่เกาะมารีนา (Mariana) ในมหาสมุทรแปซิฟิก] กัมพูชาHaishen ไห่เฉิน ชื่อเทพเจ้าแห่งท้องทะเล สาธารณรัฐประชาชนจีนPongsona พงโซนา ชื่อดอกไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีYanyan ยันยัน ชื่อสาวน้อย ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Kujira คุจิระ ปลาวาฬ ญี่ปุ่นChan-hom จันหอม (จันทน์หอม) ชื่อต้นไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวLinfa หลิ่นฟ้า ดอกบัว มาเก๊าNangka นังกา ชื่อผลไม้ มาเลเซียSoudelor เซาเดโลร์ ชื่อหัวหน้าเผ่าในเทพนิยายของชาวเกาะโปนเป( Pohnpei) ไมโครนีเซียImbudo อิมบุโด พายุงวงช้าง ฟิลิปปินส์Goni โคนี หงส์ซึ่งส่งเสียงร้อง สาธารณรัฐเกาหลีMorakot มรกต มรกต ไทยEtau เอตาว เมฆพายุ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะปาเลา (Palau)] สหรัฐอเมริกาVamco หว่ามก๋อ ชื่อแม่น้ำในภาคใต้ของเวียดนาม เวียดนามKrovann กรอวาญ ชื่อต้นไม้ กัมพูชา(กระวาน) Dujuan ตู้เจี้ยน ชื่อไม้ดอก สาธารณรัฐประชาชนจีนMaemi เมมิ สัตว์ชนิดหนึ่งซึ่งมักส่งเสียงร้องในฤดูร้อน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีเมื่อเวลาเกิดพายุไต้ฝุ่นเข้าสู่ประเทศเกาหลี Choi-wan ฉอยหวั่น เมฆซึ่งมีสีสันสวยงาม ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Koppu คอบปุ ปล่องภูเขาไฟ, หลุม หรือแก้ว ญี่ปุ่นKitsana กิสนา (กฤษณา) ชื่อต้นไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวParma ป้าหม่า อาหารชนิดหนึ่งของมาเก๊า ประกอบด้วยเนื้อสะโพก ตับ และเห็ด มาเก๊าMelor เมอโลร์ ดอกมะลิ มาเลเซียNepartak เนพาร์ตัก นักรบผู้มีชื่อเสียง ไมโครนีเซียLupit ลูปีต ความโหดร้ายทารุณ ฟิลิปปินส์Sudal ซูแดล นาก สาธารณรัฐเกาหลีNida นิดา ชื่อผู้หญิง ไทยOmais โอไมส์ การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะปาเลา (Palau)] สหรัฐอเมริกาConson โกนเซิน ชื่อโบราณสถาน เวียดนามChanthu จันทู ชื่อดอกไม้ กัมพูชาDianmu เตี้ยนหมู่ เจ้าแม่สายอสุนี สาธารณรัฐประชาชนจีนMindulle มินดอนเล ดอกไม้เล็ก ๆสีเหลืองบานในฤดูใบไม่ผลิ สื่อถึงจิตใจที่อ่อนโยนและบริสุทธิ์ของสาวเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีTingting เถ่งเถง ชื่อสาวน้อย ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Kompasu คอมปาซุ วงเวียน ญี่ปุ่นNamtheun น้ำเทิน ชื่อแม่น้ำ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวMalou หม่าโหล หินโมรา มาเก๊าMeranti เมอรันตี ชื่อต้นไม้ มาเลเซียRananim รานานิม คำสวัสดี [ภาษาพื้นเมืองของเกาะชุก (Chuuk)] ไมโครนีเซียMalakas มาลากัส แข็งแกร่ง เต็มไปด้วยพลัง ฟิลิปปินส์Megi เมกี ปลา สาธารณรัฐเกาหลีChaba ชบา ดอกชบา (ดอกไม้เขตร้อนชนิดหนึ่ง) ไทยAere แอรี สหรัฐอเมริกาSongda ซงด่า ชื่อแม่น้ำในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม เวียดนามSarika สาลิกา ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชอบร้องเพลง กัมพูชาHaima ไหหม่า ม้าน้ำ สาธารณรัฐประชาชนจีนMeari มิอะริ เสียงสะท้อน(หมายถึง ทันทีที่เกิดพายุไต้ฝุ่น คำประกาศแจ้งของคณะกรรมการไต้ฝุ่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีก็จะสะท้อนก้องไปสู่ประเทศสมาชิก) Ma-on หมาง้อน อานม้า ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Tokage โทะคาเงะ สัตว์เลื้อยคลาน พวกจิ้งจก ตุ๊กแก ญี่ปุ่นNock-ten นกเตน (นกกระเต็น) ชื่อนก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวMuifa หมุ่ยฟ้า ดอกพลัมบาน มาเก๊าMerbok เมอร์บุก ชื่อนก มาเลเซียNamadol นันมาดอล โบราณสถานที่มีชื่อเสียงของโปนเป (Pohnpei) หรือ เวนิชแห่งแปซิฟิก ไมโครนีเซีย Talas ตาลัส แหลมคม ฟิลิปปินส์Noru โนรู กวาง สาธารณรัฐเกาหลีKulap กุหลาบ ชื่อดอกไม้ ไทยRoke โรคี ชื่อผู้ชาย [ในภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา (Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกาSonca เซินกา ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชอบร้องเพลง เวียดนามNesat เนสาด ชาวประมง กัมพูชาHaitang ไห่ถาง ชื่อผลไม้ของจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนNalgae นาลแก ปีก (หมายถึงการโบยบิน เคลื่อนที่ เคลื่อนไหวอย่างมีอิสระ) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีBanyan บันยัน ชื่อต้นไม้ ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)Washi วาชิ ชื่อหมู่ดาว นกอินทรีย์ ญี่ปุ่นMatsa มัดสา (มัศยา,มัตสยา,มัสยา) ปลาตัวเมีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวSanvu ซันหวู่ หินปะการัง มาเก๊าMawar มาวาร์ กุหลาบ มาเลเซียGuchol กูโชล เครื่องเทศชนิดหนึ่ง ไมโครนีเซียTalim ตาลิม แหลมคม หรือ ด้านคมของใบมีด ฟิลิปปินส์Nabi นาบี ผีเสื้อ สาธารณรัฐเกาหลีKhanun ขนุน ชื่อผลไม้ ไทยVicente วีเซนเต เมฆ [ภาษาชามาร์โร Chamarro)] สหรัฐอเมริกาSaola ซาวลา สัตว์ชนิดหนึ่ง ค้นพบในเวียดนาม เวียดนามมีผลตั้งแต่ 1 มกราคม 2551 (จากการประชุมคณะกรรมการไต้ฝุ่นครั้งที่ 40 ณ ประเทศมาเก๊า ระหว่างวันที่ 21-26 พฤศจิกายน 2550 )ที่มา http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=28
เขียนโดย ครูจำเริญ สุวรรณประสิทธิ์
0 ความคิดเห็น
ชื่อพายุ (I) ความหมาย ประเทศที่มา
Damrey ดอมเรย ช้าง กัมพูชา
Haikui ไห่คุ้ย - สาธารณรัฐประชาชนจีน
Kirogi ไคโรจิ ห่านป่า (ฝูงนกที่อพยพมาเกาหลีในฤดูใบไม้ร่วง และอพยพจากไปทางตอนเหนือในต้นฤดูใบไม้ผลิซึ่งมีพฤติกรรมคล้ายกับพายุไต้ฝุ่น) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Kai-tak ไคตั๊ก ชื่อสนามบินเก่าของฮ่องกง ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Tembin เทมบิง ราศีตุล ตาชั่ง ญี่ปุ่น
Bolaven โบลาเวน ที่ราบสูง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Sanba SAN-BA ชื่อสถานที่ในมาเก๊า Place name in Macoa มาเก๊า
Jelawat เจอลาวัต ชื่อปลาน้ำจืด มาเลเซีย
Ewiniar เอวิเนียร์ ชื่อเทพเจ้าแห่งพายุ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะชุก (Chuuk)] ไมโครนีเซีย
Mariksi MA-LIK-SI คำคุณศัพท์ในภาษาประจำชาติของฟิลิปปินส์(?)มีความหมายว่า"รวดเร็ว" Filipino adjective which means fast ฟิลิปปินส์
Gaemi เกมี มด สาธารณรัฐเกาหลี
Prapiroon พระพิรุณ ฃื่อเทพเจ้าแห่งฝน ไทย
Maria มาเรีย ชื่อผู้หญิง [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา (Mariana)ในมหาสมุทราแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Son Tinh SON-TING เทพเจ้าแห่งขุนเขาตามตำนานเทพของเวียดนาม (God of Mountain in Vietnamese myth) เวียดนาม
Bopha โบพา ชื่อดอกไม้ / ชื่อเด็กหญิง กัมพูชา
Wukong หวู่คง ชื่อวีรบุรุษในตำนานจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Sonamu โซนามุ ต้นส้น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Shanshan ซานซาน ชื่อหญิงสาว ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Yagi ยางิ ราศีมังกร แพะ ญี่ปุ่น
Leepi LEE-PI น้ำตกที่สวยที่สุดทางตอนใต้สุดของประเทศลาว(The most beautiful waterfall in the end of Southern of Lao) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Bebinca เบบินคา ชื่อขนมพุดดิงของมาเก๊า มาเก๊า
Rumbia รุมเบีย ต้นปาล์ม มาเลเซีย
Soulik ซูลิก ตำแหน่งหัวหน้าเผ่าโบราณของเกาะโปนเป (Pohnpei) ไมโครนีเซีย
Cimaron ซิมารอน วัวป่าในฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
Jebi เชบี นกนางแอ่น สาธารณรัฐเกาหลี
Mangkhut มังคุด MUNG-KUUT ชื่อผลไม้ ไทย
Utor อูตอร์ แนวพายุฝนฟ้าคะนอง [ภาษาพื้นเมืองหมู่ชาวเกาะมาร์แชลล์ (Marshall)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Trami จ่ามี ชื่อดอกไม้ เวียดนาม
Kong-rey กองเรย ชื่อสาวงามในตำนานเขมร ชื่อภูเขา กัมพูชา
Yutu ยู่ทู่ กระต่ายในตำนานจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Toraji โทราจิ ชื่อต้นไม้ มีดอกสวยงาม พบในหุบเขาของเกาหลี รากใช้ทำอาหารและยา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Man-yi มานหยี่ ชื่อช่องแคบ ปัจจุบันเป็นอ่างเก็บน้ำ ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Usagi อุซางิ กระต่าย ญี่ปุ่น
Pabuk ปาบึก (ปลาบึก) ชื่อปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Wutip หวู่ติ๊บ ผีเสื้อ มาเก๊า
Sepat เซอปัต ปลาน้ำจืดซึ่งมีครีบเล็ก ๆ สำหรับคลาน มาเลเซีย
Fitow ฟิโทว์ ชื่อดอกไม้สวย มีกลิ่นหอม [ภาษาพื้นเมืองของเกาะยาป ( Yap) ] ไมโครนีเซีย
Danas ดานัส ประสบการณ์และความรู้สึก ฟิลิปปินส์
Nari นารี ดอกไม้ สาธารณรัฐเกาหลี
Wipha วิภา ชื่อผู้หญิง ไทย
Francisco ฟรานซิสโก ชื่อผู้ชาย [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา(Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Lekima เลกีมา ชื่อผลไม้ เวียดนาม
Krosa กรอซา ปั้นจั่น กัมพูชา
Haiyan ไห่เยี่ยน ชื่อนกทะเล สาธารณรัฐประชาชนจีน
Podul โพดอล ต้นหลิว ต้นไม้ที่มักพบในตัวเมืองและชนบทของเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Lingling เหล่งเหลง ชื่อหญิงสาว ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kajiki คะจิกิ ชื่อปลาทะเลที่เกล็ดจะเปลี่ยนสีเมื่อพ้นน้ำ ญี่ปุ่น
Faxai ฟ้าใส ชื่อผู้หญิง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
PEIPAH เพผ่า ชื่อปลาสวยงาม (แทน Vamei) มาเก๊า
(Vamei) (ฮัวเหม่ย) นกชนิดหนึ่งมีเสียงร้องไพเราะ
Tapah ตาปาห์ ชื่อปลาน้ำจืด มาเลเซีย
Mitag มิแทก ชื่อผู้หญิง {ภาษาพื้นเมืองของเกาะในประเทศไมโครนีเชีย} ไมโครนีเซีย
Hagibis ฮากิบิส รวดเร็ว ว่องไว ฟิลิปปินส์
Neoguri โนกูรี สนุขพันธุ์ราคูน สาธารณรัฐเกาหลี
Rammasun รามสูร ชื่อยักษ์ในเทพนิยายไทย ไทย
Chataan ชาทาอาน ฝน [ภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา(Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Halong หะลอง ชื่ออ่าวสวยงามในเวียดนาม เวียดนาม
Nakri นากรี ชื่อดอกไม้ กัมพูชา
Fengshen ฟงเฉิน ชื่อเทพเจ้าแห่งลม สาธารณรัฐประชาชนจีน
Kalmaegi คัลเมจิ นกนางนวล ( สัญลักษณ์แห่งท้องทะเล ) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Fung-wong ฟองวอง ชื่อยอดเขา ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kammuri คัมมุริ มงกุฎ ญี่ปุ่น
Phanfone พันฝน สัตว์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Vongfong หว่องฟง ชื่อแมลง มาเก๊า
Rusa รูซา กวาง มาเลเซีย
Sinlaku ซินลากอ ชื่อเทพธิดาในนิยาย ไมโครนีเซีย
Hagupit ฮากุปิต เฆี่ยนตี ฟิลิปปินส์
Jangmi ชังมี กุหลาบ สาธารณรัฐเกาหลี
Mekkhala เมขลา ชื่อเทพธิดาในเทพนิยายไทย ไทย
Higos ฮีโกส ชื่อพืชชนิดหนึ่ง [ภาษาพื้นเมืองหมู่เกาะมารีน่า(Mariana) ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐเมริกา
Bavi บาหวี่ ชื่อภูเขาในภาคเหนือของเวียดนาม เวียดนาม
Maysak ไม้สัก ชื่อต้นไม้ [ ภาษาพื้นเมืองชองหมู่เกาะมารีนา (Mariana) ในมหาสมุทรแปซิฟิก] กัมพูชา
Haishen ไห่เฉิน ชื่อเทพเจ้าแห่งท้องทะเล สาธารณรัฐประชาชนจีน
Pongsona พงโซนา ชื่อดอกไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Yanyan ยันยัน ชื่อสาวน้อย ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kujira คุจิระ ปลาวาฬ ญี่ปุ่น
Chan-hom จันหอม (จันทน์หอม) ชื่อต้นไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Linfa หลิ่นฟ้า ดอกบัว มาเก๊า
Nangka นังกา ชื่อผลไม้ มาเลเซีย
Soudelor เซาเดโลร์ ชื่อหัวหน้าเผ่าในเทพนิยายของชาวเกาะโปนเป( Pohnpei) ไมโครนีเซีย
Imbudo อิมบุโด พายุงวงช้าง ฟิลิปปินส์
Goni โคนี หงส์ซึ่งส่งเสียงร้อง สาธารณรัฐเกาหลี
Morakot มรกต มรกต ไทย
Etau เอตาว เมฆพายุ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะปาเลา (Palau)] สหรัฐอเมริกา
Vamco หว่ามก๋อ ชื่อแม่น้ำในภาคใต้ของเวียดนาม เวียดนาม
Krovann กรอวาญ ชื่อต้นไม้ กัมพูชา
(กระวาน)
Dujuan ตู้เจี้ยน ชื่อไม้ดอก สาธารณรัฐประชาชนจีน
Maemi เมมิ สัตว์ชนิดหนึ่งซึ่งมักส่งเสียงร้องในฤดูร้อน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
เมื่อเวลาเกิดพายุไต้ฝุ่นเข้าสู่ประเทศเกาหลี
Choi-wan ฉอยหวั่น เมฆซึ่งมีสีสันสวยงาม ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Koppu คอบปุ ปล่องภูเขาไฟ, หลุม หรือแก้ว ญี่ปุ่น
Kitsana กิสนา (กฤษณา) ชื่อต้นไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Parma ป้าหม่า อาหารชนิดหนึ่งของมาเก๊า ประกอบด้วยเนื้อสะโพก ตับ และเห็ด มาเก๊า
Melor เมอโลร์ ดอกมะลิ มาเลเซีย
Nepartak เนพาร์ตัก นักรบผู้มีชื่อเสียง ไมโครนีเซีย
Lupit ลูปีต ความโหดร้ายทารุณ ฟิลิปปินส์
Sudal ซูแดล นาก สาธารณรัฐเกาหลี
Nida นิดา ชื่อผู้หญิง ไทย
Omais โอไมส์ การเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ [ภาษาพื้นเมืองของเกาะปาเลา (Palau)] สหรัฐอเมริกา
Conson โกนเซิน ชื่อโบราณสถาน เวียดนาม
Chanthu จันทู ชื่อดอกไม้ กัมพูชา
Dianmu เตี้ยนหมู่ เจ้าแม่สายอสุนี สาธารณรัฐประชาชนจีน
Mindulle มินดอนเล ดอกไม้เล็ก ๆสีเหลืองบานในฤดูใบไม่ผลิ สื่อถึงจิตใจที่อ่อนโยนและบริสุทธิ์ของสาวเกาหลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Tingting เถ่งเถง ชื่อสาวน้อย ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Kompasu คอมปาซุ วงเวียน ญี่ปุ่น
Namtheun น้ำเทิน ชื่อแม่น้ำ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Malou หม่าโหล หินโมรา มาเก๊า
Meranti เมอรันตี ชื่อต้นไม้ มาเลเซีย
Rananim รานานิม คำสวัสดี [ภาษาพื้นเมืองของเกาะชุก (Chuuk)] ไมโครนีเซีย
Malakas มาลากัส แข็งแกร่ง เต็มไปด้วยพลัง ฟิลิปปินส์
Megi เมกี ปลา สาธารณรัฐเกาหลี
Chaba ชบา ดอกชบา (ดอกไม้เขตร้อนชนิดหนึ่ง) ไทย
Aere แอรี สหรัฐอเมริกา
Songda ซงด่า ชื่อแม่น้ำในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม เวียดนาม

Sarika สาลิกา ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชอบร้องเพลง กัมพูชา
Haima ไหหม่า ม้าน้ำ สาธารณรัฐประชาชนจีน
Meari มิอะริ เสียงสะท้อน(หมายถึง ทันทีที่เกิดพายุไต้ฝุ่น คำประกาศแจ้งของคณะกรรมการไต้ฝุ่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
ก็จะสะท้อนก้องไปสู่ประเทศสมาชิก)
Ma-on หมาง้อน อานม้า ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Tokage โทะคาเงะ สัตว์เลื้อยคลาน พวกจิ้งจก ตุ๊กแก ญี่ปุ่น
Nock-ten นกเตน (นกกระเต็น) ชื่อนก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Muifa หมุ่ยฟ้า ดอกพลัมบาน มาเก๊า
Merbok เมอร์บุก ชื่อนก มาเลเซีย
Namadol นันมาดอล โบราณสถานที่มีชื่อเสียงของโปนเป (Pohnpei) หรือ เวนิชแห่งแปซิฟิก ไมโครนีเซีย
Talas ตาลัส แหลมคม ฟิลิปปินส์
Noru โนรู กวาง สาธารณรัฐเกาหลี
Kulap กุหลาบ ชื่อดอกไม้ ไทย
Roke โรคี ชื่อผู้ชาย [ในภาษาพื้นเมืองของหมู่เกาะมาเรียนา (Mariana)ในมหาสมุทรแปซิฟิก] สหรัฐอเมริกา
Sonca เซินกา ชื่อนกชนิดหนึ่ง ชอบร้องเพลง เวียดนาม
Nesat เนสาด ชาวประมง กัมพูชา
Haitang ไห่ถาง ชื่อผลไม้ของจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Nalgae นาลแก ปีก (หมายถึงการโบยบิน เคลื่อนที่ เคลื่อนไหวอย่างมีอิสระ) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
Banyan บันยัน ชื่อต้นไม้ ฮ่องกง (สาธารณรัฐประชาชนจีน)
Washi วาชิ ชื่อหมู่ดาว นกอินทรีย์ ญี่ปุ่น
Matsa มัดสา (มัศยา,มัตสยา,มัสยา) ปลาตัวเมีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Sanvu ซันหวู่ หินปะการัง มาเก๊า
Mawar มาวาร์ กุหลาบ มาเลเซีย
Guchol กูโชล เครื่องเทศชนิดหนึ่ง ไมโครนีเซีย
Talim ตาลิม แหลมคม หรือ ด้านคมของใบมีด ฟิลิปปินส์
Nabi นาบี ผีเสื้อ สาธารณรัฐเกาหลี
Khanun ขนุน ชื่อผลไม้ ไทย
Vicente วีเซนเต เมฆ [ภาษาชามาร์โร Chamarro)] สหรัฐอเมริกา
Saola ซาวลา สัตว์ชนิดหนึ่ง ค้นพบในเวียดนาม เวียดนาม
มีผลตั้งแต่ 1 มกราคม 2551 (จากการประชุมคณะกรรมการไต้ฝุ่นครั้งที่ 40 ณ ประเทศมาเก๊า ระหว่างวันที่ 21-26 พฤศจิกายน 2550 )
ที่มา http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=28
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คืออะไร ?
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change) คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศเฉลี่ย (average weather) ในพื้นที่หนึ่ง ลักษณะอากาศเฉลี่ย หมายความรวมถึง ลักษณะทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับอากาศ เช่น อุณหภูมิ ฝน ลม เป็นต้น (ดูความหมายของ climate และ weather คลิ๊กที่นี่)
ในความหมายตามกรอบของอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ FCCC (Framework Convention on Climate Change) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นผลทางตรง หรือทางอ้อมจากกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้องค์ประกอบของบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป นอกเหนือจากความผันแปรตามธรรมชาติ
แต่ความหมายที่ใช้ในคณะกรรมการระหว่างรัฐบาล ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่ว่าจะเนื่องมาจาก ความผันแปรตามธรรมชาติ หรือกิจกรรมของมนุษย์
มนุษย์มีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้อย่างไร ?
กิจกรรมของมนุษย์ที่มีผลทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง คือ กิจกรรมที่ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) ในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุให้ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) รุนแรงกว่าที่ควรจะเป็นตามธรรมชาติ และส่งผลให้อุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ที่เรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global warming)
ก๊าซเรือนกระจก คืออะไร ?
ก๊าซเรือนกระจก คือ ก๊าซที่เป็นองค์ประกอบของบรรยากาศ และมีคุณสมบัติยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุมายังพื้นผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้ ก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ และเป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเธน ไนตรัสออกไซด์ ฯลฯ
ภาวะเรือนกระจก คืออะไร ?
ภาวะเรือนกระจก คือ ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจก ที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านลงมายังพื้นผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้ จากนั้นก็จะคายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายใน บรรยากาศจึงเปรียบเสมือนกระจกที่ปกคลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.tmd.go.th/knowledge/know_greenhouse01.html)

ภาวะโลกร้อน คืออะไร ?
ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ภาวะโลกร้อนอาจจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝน ระดับน้ำทะเล และมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อพืช สัตว์ และมนุษย์
โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ ?
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1861 (พ.ศ. 2404) อุณหภูมิผิวพื้นเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น และสูงขึ้นประมาณ 0.6 องศาเซลเซียส ในศตวรรษที่ 20 (จากรายงานการประเมินครั้งที่ 3 หรือ Third Assessment Report - TAR ของคณะทำงานกลุ่ม 1 IPCC) จากการวิเคราะห์ข้อมูลในซีกโลกเหนือ ย้อนหลังไป 1,000 ปี พบว่า อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากในศตวรรษที่ 20 โดยสูงขึ้นมากที่สุดในทศวรรษที่ 1990 และ ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) เป็นปีที่ร้อนมากที่สุดในรอบ 1,000 ปี

ปริมาณฝนและระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ?
ในศตวรรษที่ 20 ปริมาณน้ำฟ้า (น้ำฟ้า หมายถึง น้ำที่ตกลงมาจากฟ้าไม่ว่าจะอยู่ในภาวะของเหลวหรือของแข็ง เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ) บริเวณพื้นแผ่นดินส่วนใหญ่ของซีกโลกเหนือในเขตละติจูดกลางและละติจูดสูง สูงขึ้นโดยเฉลี่ย 5 - 10 % แต่ลดลงประมาณ 3 % ในบริเวณกึ่งเขตร้อน

ส่วนระดับน้ำทะเล จากข้อมูลทางธรณีวิทยา ปรากฏว่าเมื่อ 6,000 ปีที่ผ่านมาระดับน้ำทะเลของโลกสูงขึ้นในอัตราเฉลี่ยประมาณ 0.5 มม./ปี และในระยะ 3,000 ปีที่ผ่านมา สูงขึ้นเฉลี่ย 0.1 - 0.2 มม./ปี (IPCC, 2001) แต่จากข้อมูลตรวจวัดในศตวรรษที่ 20 ระดับน้ำทะเลของโลกสูงขึ้นในอัตราเฉลี่ย 1 - 2 มม./ปี

ประชาคมโลกตอบสนองต่อปัญหานี้อย่างไร ?
ในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก (The First World Climate Conference) ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งจะกลับมามีผลกระทบต่อมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" (World Climate Programme หรือ WCP) ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization หรือ WMO), โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme หรือ UNEP) และ International Council of Science Unions หรือ ICSU
หลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มีการประชุมระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ The Villach Conference ประเทศออสเตรีย (9 - 15 ตุลาคม 2528), The Toronto Conference ประเทศแคนาดา (27 - 30 มิถุนายน พ.ศ.), The Ottawa Conference ประเทศแคนาดา (20 - 22 กุมภาพันธ์ 2532), The Tata Conference นิวเดลฮี ประเทศอินเดีย (21 - 23 กุมภาพันธ์ 2532), The Hague Conference and Declaration ประเทศเนเธอร์แลนด์ (11 มีนาคม 2532), The Noordwijk Ministerial Conference ประเทศเนเธอร์แลนด์ (6 - 7 พฤศจิกายน 2532), The Cairo Compact ประเทศอียิปต์ (ธันวาคม 2532) และ The Bergen Conference ประเทศนอรเวย์ (พฤษภาคม 2533) การประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ได้พิจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้
ปี พ.ศ. 2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเทาปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
พ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 (The First Assessment Report) ซึ่งเน้นย้ำปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผู้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ในเดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เริ่มดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmatal Nogotiating Committee for a Framework Convention on Climate Change หรือ INC/FCCC) ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2534 - พฤษภาคม 2535 และเนื่องจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก (Earth Summit) หรือการประชุมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development หรือ UNCED) ในเดือนมิถุนายน 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศจึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2535
ในการประชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดือนมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล (รวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) โดยเป้าหมายสูงสุดของ UNFCCC คือ การรักษาระดับปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศ
วันที่ 21 มีนาคม 2537 เป็นวันที่อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ เนื่องจากอนุสัญญาฯ ระบุว่าให้มีผลบังคับใช้ภายใน 90 วัน หลังจากประเทศที่ 50 ให้สัตยาบัน
ต่อจากนั้นอีก 6 เดือน คือ วันที่ 21 กันยายน 2537 ประเทศพัฒนาแล้วเริ่มเสนอรายงานแห่งชาติ (National Communications) เกี่ยวกับกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ขณะเดียวกัน คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลฯ (INC) ได้มีการประชุมกันหลายครั้งเพื่อพิจารณาเรื่องการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ การจัดการเกี่ยวกับการเงิน การสนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยีแก่ประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งแนวทางการดำเนินงานและสถาบันที่เกี่ยวข้อง ต่อมาคณะกรรมการชุดนี้ค่อย ๆ ลดบทบาทลง และยุบไป (การประชุมครั้งสุดท้าย เดือนกุมภาพันธ์ 2538) และได้ให้ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ( The Conference of the Parties หรือ COP) เป็นองค์กรสูงสุดของอนุสัญญาฯ โดย COP มีหน้าที่ติดตามตรวจสอบการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ และประเด็นทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการตัดสินใจสนับสนุนและส่งเสริมการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง COP มีการประชุมทุกปี จำนวน 9 ครั้ง จนถึง พ.ศ. 2546 ดังนี้
COP-1
เป็นการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ครั้งแรก จัดขึ้นที่ เบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม - 7 เมษายน พ.ศ. 2538
COP-2
จัดขึ้นที่ เจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 8 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2539
COP-3
จัดขึ้นที่ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 1 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2540
COP-4
จัดขึ้นที่ บัวโนส ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ระหว่างวันที่ 2 - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541
COP-5
จัดขึ้นที่ กรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
COP-6
จัดขึ้น กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 13 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
COP-7
จัดขึ้นที่ มาราเก็ช ประเทศโมรอคโค ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544
COP-8
จัดขึ้นที่ นิวเดลฮี ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 23 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
COP-9
จัดขึ้นที่ มิลาน ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 1 - 12 ธันวาคม พ.ศ. 2546
ที่มา http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=86
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คืออะไร ?การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change) คือ การเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศเฉลี่ย (average weather) ในพื้นที่หนึ่ง ลักษณะอากาศเฉลี่ย หมายความรวมถึง ลักษณะทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับอากาศ เช่น อุณหภูมิ ฝน ลม เป็นต้น (ดูความหมายของ climate และ weather คลิ๊กที่นี่)ในความหมายตามกรอบของอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ FCCC (Framework Convention on Climate Change) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นผลทางตรง หรือทางอ้อมจากกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้องค์ประกอบของบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป นอกเหนือจากความผันแปรตามธรรมชาติแต่ความหมายที่ใช้ในคณะกรรมการระหว่างรัฐบาล ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่ว่าจะเนื่องมาจาก ความผันแปรตามธรรมชาติ หรือกิจกรรมของมนุษย์มนุษย์มีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้อย่างไร ?กิจกรรมของมนุษย์ที่มีผลทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง คือ กิจกรรมที่ทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) ในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุให้ภาวะเรือนกระจก (Greenhouse Effect) รุนแรงกว่าที่ควรจะเป็นตามธรรมชาติ และส่งผลให้อุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ที่เรียกว่า ภาวะโลกร้อน (Global warming) ก๊าซเรือนกระจก คืออะไร ?ก๊าซเรือนกระจก คือ ก๊าซที่เป็นองค์ประกอบของบรรยากาศ และมีคุณสมบัติยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุมายังพื้นผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้ ก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ และเป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเธน ไนตรัสออกไซด์ ฯลฯภาวะเรือนกระจก คืออะไร ?ภาวะเรือนกระจก คือ ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทำตัวเสมือนกระจก ที่ยอมให้รังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ผ่านลงมายังพื้นผิวโลกได้ แต่จะดูดกลืนรังสีคลื่นยาวช่วงอินฟราเรดที่แผ่ออกจากพื้นผิวโลกเอาไว้ จากนั้นก็จะคายพลังงานความร้อนให้กระจายอยู่ภายใน บรรยากาศจึงเปรียบเสมือนกระจกที่ปกคลุมผิวโลกให้มีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.tmd.go.th/knowledge/know_greenhouse01.html)ภาวะโลกร้อน คืออะไร ?ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ภาวะโลกร้อนอาจจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝน ระดับน้ำทะเล และมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อพืช สัตว์ และมนุษย์โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ ?ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1861 (พ.ศ. 2404) อุณหภูมิผิวพื้นเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น และสูงขึ้นประมาณ 0.6 องศาเซลเซียส ในศตวรรษที่ 20 (จากรายงานการประเมินครั้งที่ 3 หรือ Third Assessment Report - TAR ของคณะทำงานกลุ่ม 1 IPCC) จากการวิเคราะห์ข้อมูลในซีกโลกเหนือ ย้อนหลังไป 1,000 ปี พบว่า อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นมากในศตวรรษที่ 20 โดยสูงขึ้นมากที่สุดในทศวรรษที่ 1990 และ ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) เป็นปีที่ร้อนมากที่สุดในรอบ 1,000 ปีปริมาณฝนและระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ?ในศตวรรษที่ 20 ปริมาณน้ำฟ้า (น้ำฟ้า หมายถึง น้ำที่ตกลงมาจากฟ้าไม่ว่าจะอยู่ในภาวะของเหลวหรือของแข็ง เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ) บริเวณพื้นแผ่นดินส่วนใหญ่ของซีกโลกเหนือในเขตละติจูดกลางและละติจูดสูง สูงขึ้นโดยเฉลี่ย 5 - 10 % แต่ลดลงประมาณ 3 % ในบริเวณกึ่งเขตร้อนส่วนระดับน้ำทะเล จากข้อมูลทางธรณีวิทยา ปรากฏว่าเมื่อ 6,000 ปีที่ผ่านมาระดับน้ำทะเลของโลกสูงขึ้นในอัตราเฉลี่ยประมาณ 0.5 มม./ปี และในระยะ 3,000 ปีที่ผ่านมา สูงขึ้นเฉลี่ย 0.1 - 0.2 มม./ปี (IPCC, 2001) แต่จากข้อมูลตรวจวัดในศตวรรษที่ 20 ระดับน้ำทะเลของโลกสูงขึ้นในอัตราเฉลี่ย 1 - 2 มม./ปีประชาคมโลกตอบสนองต่อปัญหานี้อย่างไร ?ในการประชุมภูมิอากาศโลกครั้งแรก (The First World Climate Conference) ซึ่งจัดขึ้นที่เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 12 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 นักวิทยาศาสตร์ได้ตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก การประชุมครั้งนี้เน้นถึงเรื่องผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีต่อมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ และเรียกร้องให้รัฐบาลของแต่ละประเทศให้ความสำคัญกับภูมิอากาศที่กำลังเปลี่ยนแปลงและป้องกันการกระทำของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งจะกลับมามีผลกระทบต่อมนุษย์เอง นอกจากนี้ยังได้วางแผนจัดตั้ง "แผนงานภูมิอากาศโลก" (World Climate Programme หรือ WCP) ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization หรือ WMO), โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme หรือ UNEP) และ International Council of Science Unions หรือ ICSUหลังจาก พ.ศ. 2522 เป็นต้นมาได้มีการประชุมระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีกหลายครั้ง ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ The Villach Conference ประเทศออสเตรีย (9 - 15 ตุลาคม 2528), The Toronto Conference ประเทศแคนาดา (27 - 30 มิถุนายน พ.ศ.), The Ottawa Conference ประเทศแคนาดา (20 - 22 กุมภาพันธ์ 2532), The Tata Conference นิวเดลฮี ประเทศอินเดีย (21 - 23 กุมภาพันธ์ 2532), The Hague Conference and Declaration ประเทศเนเธอร์แลนด์ (11 มีนาคม 2532), The Noordwijk Ministerial Conference ประเทศเนเธอร์แลนด์ (6 - 7 พฤศจิกายน 2532), The Cairo Compact ประเทศอียิปต์ (ธันวาคม 2532) และ The Bergen Conference ประเทศนอรเวย์ (พฤษภาคม 2533) การประชุมเหล่านี้ช่วยให้ประเทศต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมากขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุม รวมทั้งผู้กำหนดนโยบายในหน่วยงานรัฐบาล นักวิทยาศาสตร์และนักสิ่งแวดล้อม ได้พิจารณาประเด็นทั้งด้านวิทยาศาสตร์และนโยบาย และเรียกร้องให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกร่วมมือดำเนินการเกี่ยวกับปัญหานี้ปี พ.ศ. 2531 องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเทาปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศพ.ศ. 2533 IPCC ได้เสนอรายงานการประเมินครั้งที่ 1 (The First Assessment Report) ซึ่งเน้นย้ำปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ รายงานนี้มีผลอย่างมากต่อสาธารณชนและผู้กำหนดนโยบาย และเป็นพื้นฐานในการเจรจาอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในเดือนธันวาคม 2533 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติมีมติให้เริ่มดำเนินการเจรจาข้อตกลง โดยตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลเพื่อจัดทำร่างอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmatal Nogotiating Committee for a Framework Convention on Climate Change หรือ INC/FCCC) ซึ่งได้มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง ตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2534 - พฤษภาคม 2535 และเนื่องจากเส้นตายที่จะมีการประชุมสุดยอดของโลก (Earth Summit) หรือการประชุมแห่งสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development หรือ UNCED) ในเดือนมิถุนายน 2535 ผู้เจรจาจาก 150 ประเทศจึงจัดทำร่างอนุสัญญาฯ เสร็จสิ้น และยอมรับที่นิวยอร์ค เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2535ในการประชุมสุดยอดของโลก เมื่อเดือนมิถุนายน 2535 ที่กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ตัวแทนรัฐบาล 154 รัฐบาล (รวมสหภาพยุโรป) ได้ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change หรือ UNFCCC) โดยเป้าหมายสูงสุดของ UNFCCC คือ การรักษาระดับปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่อยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบภูมิอากาศวันที่ 21 มีนาคม 2537 เป็นวันที่อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ เนื่องจากอนุสัญญาฯ ระบุว่าให้มีผลบังคับใช้ภายใน 90 วัน หลังจากประเทศที่ 50 ให้สัตยาบันต่อจากนั้นอีก 6 เดือน คือ วันที่ 21 กันยายน 2537 ประเทศพัฒนาแล้วเริ่มเสนอรายงานแห่งชาติ (National Communications) เกี่ยวกับกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ขณะเดียวกัน คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลฯ (INC) ได้มีการประชุมกันหลายครั้งเพื่อพิจารณาเรื่องการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ การจัดการเกี่ยวกับการเงิน การสนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยีแก่ประเทศกำลังพัฒนา รวมทั้งแนวทางการดำเนินงานและสถาบันที่เกี่ยวข้อง ต่อมาคณะกรรมการชุดนี้ค่อย ๆ ลดบทบาทลง และยุบไป (การประชุมครั้งสุดท้าย เดือนกุมภาพันธ์ 2538) และได้ให้ที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ( The Conference of the Parties หรือ COP) เป็นองค์กรสูงสุดของอนุสัญญาฯ โดย COP มีหน้าที่ติดตามตรวจสอบการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ และประเด็นทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งการตัดสินใจสนับสนุนและส่งเสริมการอนุวัติตามอนุสัญญาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง COP มีการประชุมทุกปี จำนวน 9 ครั้ง จนถึง พ.ศ. 2546 ดังนี้COP-1เป็นการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ ครั้งแรก จัดขึ้นที่ เบอร์ลิน สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม - 7 เมษายน พ.ศ. 2538COP-2จัดขึ้นที่ เจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 8 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2539COP-3จัดขึ้นที่ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 1 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2540COP-4จัดขึ้นที่ บัวโนส ไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา ระหว่างวันที่ 2 - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541COP-5จัดขึ้นที่ กรุงบอนน์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542COP-6จัดขึ้น กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 13 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543COP-7จัดขึ้นที่ มาราเก็ช ประเทศโมรอคโค ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544COP-8จัดขึ้นที่ นิวเดลฮี ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 23 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545COP-9จัดขึ้นที่ มิลาน ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 1 - 12 ธันวาคม พ.ศ. 2546ที่มา http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=86

วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

อ่านแล้วจะร้องไห้เลยผม

วันสิ้นโลก.. ทําไมหนังต้องเจาะจงปี 2012


Written by Kittivud
อย่างที่เพื่อนๆทราบกันว่า ภาพยนตร์เรื่อง 2012 ของ Roland Emmerich จะเข้าฉายในวันที่ 10 กรกฎาคม 2009 นี้ ทําไมหนังต้องพูดถึงปี 2012 คําทํานายมายันคืออะไร ? ทําไมต้องเจาะจงปี 2012 ? (เหมือนภาพยนตร์หลายๆเรื่องที่ผ่านมา ก็มีการพูดถึงปีเดียวกันนี้) ผมได้รวบรวมคําทํานายมาให้อ่านในกระทู้นี้แล้วครับ

ชาวมายาคือใคร และอยู่ตรงไหน ?

อาณาจักร มายา ตั้งอยู่ในอเมริกากลาง มีพื้นที่บริเวณประเทศเม็กซิโกคาบเกี่ยวกับเบลีซและก ัวเตมาลา มีความรุ่งเรืองช่วง 500 ปีก่อนคริสตกาลจนถึง ค.ศ. 1502 มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่นครวากา ปัจจุบันคือ เอลเปรู มีอายุร่วมสมัยเดียวกับอารยธรรมเตโอตีอัวกาน (Teotihuacán) ซึ่งถือว่าเป็นอาณาจักรที่ใหญ่มากเพราะมีพื้นที่กินถ ึง ประเทศคือเม็กซิโก กัวเตมาลา และฮอนดูรัส

ตามประวัติ อาณาจักรแห่งนี้เจริญรุ่งเรืองไพศาลมาก มีอายุยาวนานนับได้ 2000ปี ตั้งแต่คริสต์ศักราช 250 อาณาจักรแห่งนี้มีซากสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตน่าทึ่งที ่สุด ไว้เป็นมรดกโลก และฝากปริศนาให้คนรุ่นหลังขบคิดกันว่าเกิดจากสาเหตุใ ด

อาณาจักร มายาเป็นอาณาจักรแสนยิ่งใหญ่ที่ประกอบด้วยเมืองเอกหล ายเมืองด้วยกันมีเมือง สำคัญหลายเมือง คือ เมืองติกัล (Tikal) เพเตน (Peten) ในประเทศกัวเตมาลา ปาเลงกอ (Palenque) ในภาคใต้ของประเทศเม็กซิโก เมืองโคปัน (Copan) ในประเทศฮอนดูรัส เมือง อิทซา (Itzar) อักซ์มัล (Uxmal) และมายาปัน (mayapan) ในบริเวณคาบสมุทรยูคาตัน เมืองของชาวมายาประกอบด้วยชุมชนเกษตรอยู่ชั้นนอก ชุมชนเมืองอยู่ชั้นในล้อมรอบจุดศูนย์กลางซึ่งเป็นบริ เวณสิ่งก่อสร้างที่ใช้ ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งสิ่งก่อสร้างนั้นมีหลายแบบ เช่น ปิรามิด วิหาร ปละปราสาทราชวัง ซึ่งสร้างจากศิลาล้วนๆ บ่บอกความเจริญรุ่งเรืองของชาวมายาอย่างดี

ในระหว่างปี พ.ศ. 800-1450 ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยุโรปกำลังตกอยู่ในยุคมืดแห่งอวิ ชชา แต่สำหรับชาวมายานั้น ตามประวัติศาสตร์ได้จารึกว่า ในระยะเวลาดังกล่าว อารยธรรมมายาได้เจริญรุ่งเรืองสุดขีดมากๆได้สร้างพีร ะมิดและพระราชวังที่ มโหฬารและวิจิตรอลังการมากมาย
ที่มา http://www.thaigaming.com/forward-mail/71632.htm
ชาวมายามาจากไหนแน่

นักโบราณคดีหลายคน ต่างพยายามศึกษาความเป็นมาของเผ่านี้ จากหลักฐานโบราณคดีที่เหลืออยู่ แต่ก็สับสนอยู่ดีว่าพวกเขามาจากไหนกันแน่

มี ศิลาจารึกขนาดใหญ่ ที่เขียนข้อความอย่างละเอียดเต็มไปหมด ตั้งตระหง่านอยู่กลางเมือง ซึ่งแสดงว่าชาวมายามีภาษาเป็นของตนเองและชอบบันทึกปร ะวัติศาสตร์ แต่..น่าเสียดาย ในข้อความศิลาจารึกนั้นกลับไม่มีใครสักคนที่อ่านออก ตีความได้สักคนเดียว

สิ่งที่เรารู้เกี่ยวกับมายา สันนิษฐานว่า ชาวมายาอาจสืบเชื้อสายมาจากอิสราเอล ไม่ก็กรุงทรอย คาร์เธจ ฮั่น แอตแลนติส ฯลฯปกครองด้วยระบบกษัตริย์ เรียกว่า คูฮุลอะฮอว์ (K'uhul ajaw) หรือ เทวกษัตริย์ ใช้อักษรภาพในการบันทึก มีความสามารถทางดาราศาสตร์ จนสามารถทำนายเวลาเกิดสุริยุปราคาและจันทรุปราคาได้ล ่วงหน้าเป็นเวลานาน รู้จักทำปฏิทินใช้ รู้จักประดิษฐ์เลขศูนย์ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ รู้จักค้าขายเกลือ หยก และเครื่องปั้นดินเผา แต่ชาวมายาไม่รู้จักใช้ล้อและไม่รู้จักการถลุงแร่ ซึ่งแสดงว่าชาวมายาดำรงชีวิตเหมือนมนุษย์หินที่รู้จั กใช้เพียงไม้ กระดูกสัตว์ หินปูน และหินทรายในการสร้างเมือง

นอกจากนี้ ชาวมายานับถือเทพเจ้ามาก และมีเทพเจ้ามากมาย ทั้งสุริยเทพ วสันตเทพ และมรณเทพ เทพเจ้าเหล่านี้ทรงโปรดปรานการเสวยเลือด ดังนั้น เหล่าเชลยศึกสงครามจะถูกชาวมายาฆ่าเพื่อเอาเลือดไปถว ายเทพ(บางครั้งก็เลือก กันเองในเผ่า)

แน่นอนมีตำนานเกี่ยวกับที่มาของชนเผ่านี้ด้วย จากคำบอกเล่าว่ากันว่า ชาวมายาสืบเชื้อสายจากพระเจ้าผิวสีขาว มีเครายาว และเดินทางมาจากฟากฟ้าโพ้น.
อาณาจักรมายามีซากสิ่งก่อสร้างหลายแห่งหลายที และแต่ละที่นั้นถูกขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกทั้งสิ้น
ติ กัล (Tikal) มีพีระมิดของชาวมายา สูง 212 ฟุต บนยอดวิหารมีห้องมากมาย มีแท่นบูชากับหินแกะสลักอักษรภาพเป็นจำนวนมาก ตามฝาผนังของวิหารก็มีรูปสลักเต็มแทบทุกด้าน
เปเตน (Peten)
ปาเลงเก (Palenque) มีสิ่งก่อสร้างที่สร้างโดยปากัล พบหลุมศพจำนวนมากและในวิหารแห่งศิลาจารึก (Temple of the Inscriptions)
ซีบิลชัลตุน (Dzibilchaltun) มีวิหารขนาดใหญ่ที่ชื่อว่า The Temple of the Seven Dolls


นัก โบราณคดียุคปัจจุบันต่างตื่นตะลึงกับสิ่งก่อสร้างอัน มหัศจรรย์มากมายของชาว มายาซึ่งไม่ใช้เครื่องมือโลหะในการก่อสร้างเลย เช่น วิหารรูปทรงพีระมิด ราชวังและหอดูดาว เป็นต้น ยอดพีระมิดของชาวมายาจะแบนราบต่างจากพีระมิดของชาวอี ยิปต์ พีระมิดที่เมืองติกัลสูงถึง 212 ฟุต บนส่วนยอดมีห้องมากมาย และแท่นบูชากับหินแกะสลักอักษรภาพ ราชวังของเมืองติกัลเป็นอาคาร 4 ชั้น มีห้องมากถึง 42 ห้อง และเมืองอักซ์มัลมีโรงละครขนาดใหญ่ มันช่างอลังการเหลือเกินอย่าว่าแต่สมัย โบราณเลย เพราะจนถึงปัจจุบันนี้การสร้างสิ่งก่อสร้างแบบนี้นับ ว่ายากมากๆ
นอกจากนี้ยังมีการสันนิษฐานถึงทฤษฏีพระเจ้าจากอวกาศ
หลัก ฐานสำคัญเกี่ยวกับพระเจ้าของชาวมายานี่ก็อีก รูปสลักภาพวาดแต่ละภาพล้วนสวยงามตามเอกลักษณ์แบบศิลป มายา แต่ก็น่าแปลกที่พระเจ้าของพวกเค้าล้วนพิลึกกึกกือเป็ นที่สุด บางรูปเป็นรูปพระเจ้าขับยานอวกาศ บางภาพเป็นรูปสาวกของพระเจ้ากำลังปราบปีศาจร้าย และอาวุธที่อยู่ในมือ นักโบราณคดีต่างลงความเห็นว่า มันคือปืนอย่างไม่ต้องสงสัย เมื่อสองพันกว่าปีก่อนมีปืนใช้กันแล้วหรือครับ? ภาชนะบางชิ้นของพวกเขาก็เช่นกัน ถ้วยบางชิ้นมีภาพวาดของมนุษย์สวมหมวกอวกาศ
ที่มา http://www.thaigaming.com/forward-mail/71632.htm
ชาวมายาหายไปไหน

ทุก วันนี้นักโบราณคดียังคงศึกษาอาณาจักรมายันเพื่อไขปริ ศนากันต่อไป ทอม เชฟเวอร์ นักโบราณคดีหนึ่งเดียวขององค์การนาซาจากศูนย์การบินอ วกาศมาร์แชล ก็เป็นคนหนึ่ง เชฟเวอร์และทีมงานทำการศึกษาซากเมืองเพเตนในประเทศกั วเตมาลา ซึ่งติดกับพรมแดนเม็กซิโก โดยการขุดค้นหาหลักฐานใต้พื้นดินและใช้รีโมตเซนซิ่งห าหลักฐานที่สายตามนุษย์ มองไม่เห็น


สิ่งที่เชฟเวอร์ค้นพบใต้พื้นดินทั่วทั้งบริเวณของ เมืองร้างแห่งนี้คือเรณูของต้นหญ้าแทนที่จะเป็นเรณูข องต้นไม้ใหญ่ หลักฐานนี้แสดงว่าป่าไม้ของเมืองเพเตนลดลงกินบริเวณก ว้างเมื่อประมาณ 1,200 ที่ผ่านมา

ทีมงานบอกว่าเมื่อไม่มีป่าฝนก็จะเกิดการกัดเซาะและกา รระเหยของน้ำ และการกัดเซาะจะรุนแรงจนกวาดเอาปุ๋ยที่หน้าดินไปจนหม ดสิ้น หลักฐานการกัดเซาะได้ถูกค้นพบในชั้นดินตะกอนในทะเลสา บ


ยิ่ง ไปกว่านั้นการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ปกคลุมพื้นดินคือป่า ไม้จะทำให้อุณหภูมิสูง ขึ้น บ๊อบ โอเกิลส์บี นักวิทยาศาสตร์ด้านอากาศของศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลห นึ่งทีมงานใช้แบบจำลอง คอมพิวเตอร์คำนวณผลแล้วปรากฏว่าอุณหภูมิจะสูงขึ้น 5-6 องศาเซลเซียส การที่อุณหภูมิสูงขึ้นมีผลทำให้ผืนแผ่นดินแห้งแล้งซึ ่งไม่เหมาะต่อการเจริญ เติบโตของพืช

นอกจากนั้นอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะมีผลกระทบต่อ การมีฝนด้วย ดังนั้นในฤดูแล้งเมืองเพเตนจะตกอยู่ในสภาพขาดแคลนน้ำ ขณะที่น้ำใต้พื้นดินก็ลึกถึง 500 ฟุต จนไม่สามารถจะขุดนำมาใช้ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ชาวมายาจะต้องอาศัยการเก็บกักน้ำในอ ่างเก็บน้ำแต่มันก็คงจะ ระเหยไปจนไม่ทันได้ใช้

ขณะที่อาณาจักรมายันมีประชากรจำนวน มากซึ่งจำเป็นจะต้องใช้อาหารและน้ำเป็นจำนวนมากด้วย การศึกษาพบว่าประมาณคริสต์ศักราช 800 เมืองของชาวมายามีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นมาก ในพื้นที่ชนบทมีประชากร 500-700 คนต่อหนึ่งตารางไมล์ และ 1,800-2,600 คนต่อหนึ่งตารางไมล์ในบริเวณศูนย์กลางของอาณาจักรทาง ตอนเหนือของประเทศ กัวเตมาลา พอๆ กับนครลอสแองเจลิสในปี 2000 ซึ่งมีประชากร 2,345 คนต่อหนึ่งตารางไมล์ จนกระทั่งถึงคริสต์ศักราช 950 ก็เกิดความหายนะ " บางทีราว 90-95% ของชาวมายาต้องตายไป" เชฟเวอร์กล่าว

หลัก ฐานที่สนับสนุนความเป็นไปได้ก็คือ การพบว่ากระดูกของชาวมายาซึ่งมีชีวิตอยู่ในราวสองสาม ทศวรรษก่อนอาณาจักรมา ยันจะล่มสลายซึ่งแสดงว่าเป็นโรคขาดอาหารอย่างรุนแรง


เชฟเวอร์ สรุปการศึกษาในครั้งนี้ว่า นักโบราณคดีเคยโต้เถียงกันมานานว่า สาเหตุของการล่มสลายว่าเป็นเพราะความแห้งแล้ง หรือสงคราม หรือโรคระบาดอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ตอนนี้ทีมงานของเขาคิดว่าทั้งหมดล้วนมีบทบาท ทว่าสาเหตุหลักก็คือ การขาดอาหารและน้ำอย่างยาวนาน ซึ่งเกิดจากความแห้งแล้งทางธรรมชาติผสมผสานกับการทำล ายป่าไม้ของมนุษย์ และ เขาคิดว่าการเรียนรู้ว่าชาวมายาทำอะไรถูกต้องและทำอะ ไรผิดพลาดจะช่วยให้ ประชาชนพบวิถีทางที่ยั่งยืนในการทำการเกษตร โดยจะหยุดยั้งการทำสิ่งที่เลยเถิดในช่วงเวลาอันสั้นซ ึ่งเคยทำลายชาวมายามา แล้ว

ภาพ : สัญลักษณ์ของชาวมายา
บทความจาก นสพ.ไทยรัฐ

ทฤษฎี ที่โด่งดังมากสุดคงต้องยกให้กับคำทำนาย ที่ว่า โลกบูดเบี้ยวใบนี้จะแตกดับในวันที่ 21 ธ.ค. 2012 หรืออีกแค่ 5 ปีข้างหน้า...ด้วยชุดเลขสวย 212012

ทฤษฎีนี้คิดค้นขึ้นโดยชนเผ่ามา ยัน วันดังกล่าวถือเป็นวันสิ้นสุดปฏิทินลอง เคาต์ (Long Count) หรือ ปฏิทินลำดับที่ 3 ของชาวมายัน โดยปฏิทินลอง เคาต์ เล่มล่าสุดนั้น เริ่มต้นในปี 3114 ก่อนคริสตกาล และจะดำเนินต่อเนื่องเป็น 13 รอบบักตุน (baktun) กินเวลาทั้งสิ้นราว 5,126 ปี บวกลบออกมาแล้วก็ตรงกับปี 2012 พอดิบพอดี

การเริ่มต้นของ 13 รอบบักตุน เรียกได้อีกอย่างว่า อาทิตย์ดวงที่ 5 ซึ่ง ช่วงเวลาดังกล่าวจะเวียนมาบรรจบเพื่อก่อกำเนิดดวงอาท ิตย์ครบ 5 ดวง ในวันที่ 21 ธ.ค. 2012 โดยคำทำนายระบุเอาไว้ว่า ในวันนั้นโลกจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งมโหฬาร ไล่เรียงตั้งแต่ภัยธรรมชาติที่จะทำลายทุกสิ่งไปจนถึง สงครามอภิมหาโลกาวินาศ จนไม่มีมนุษย์คนใดมีชีวิตรอด ซึ่งอย่างหลังนี้อาจเชื่อมโยงได้กับทฤษฎีสงครามโลกคร ั้งที่ 3 ของนอสตราดามุส โหราจารย์ชื่อก้อง

สถานการณ์น่าระทึกในวันอวสานโลก ข้างต้นตามจินตนาการข อง อง โคลด โคเวน นักเขียนหนังสือแนวอภิปรัชญาชาวฝรั่งเศส บรรยายว่า ให้นึกถึงภาพตัวเองอยู่ในสถานีรถไฟอันแออัดตอนเช้า แล้วทันใดนั้นก็เกิดเหตุโกลาหลครั้งใหญ่ทั้งธรรมชาติ แปรปรวนและระบบ คอมพิวเตอร์หรือระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักรเคร ื่องยนต์ต่างๆ ขัดข้อง จนเป็นเหตุให้ขบวนรถไฟในชานชาลาพากันวิ่งออกไปคนละทิ ศ คนละทาง คล้ายกับซี่วงล้อเกวียน

ในสถานการณ์อันเลวร้ายเช่นนั้นยังกดดันให้ คุณจำเป็นต้องเลือกขึ้นรถไฟสัก ขบวน อย่างน้อยก็ยังรอดจากการโดนรถไฟทับตาย แต่น่าเสียดายเหลือเกินที่คุณไม่มีทางรู้เลยว่า รถไฟขบวนที่หลับหูหลับตาขึ้นไปนั้นจะพาคุณไปไหน

น่าแปลกที่นอกจาก 212012 จะเป็นวันสุดท้ายของปฏิทินชนเผ่ามายันแล้ว ยังมีข้อมูลทางดาราศาสตร์ที่ระบุไว้ว่า จะ เกิดพลังงานลึกลับที่จะเปลี่ยนแปลงโลกไปตลอดกาล โดยในเวลาที่ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรมากท ี่สุดในช่วง ฤดูหนาวของปี 2012 นั้น ดวงอาทิตย์จะอยู่ในระนาบเดียวกับใจกลางของทางช้างเผื อกเป็นครั้งแรกในรอบ 2.6 หมื่นปี ซึ่งหมายความว่า พลังงานทุกประเภทจากใจกลางของทางช้างเผือกจะถาโถมและ เกิดการปะทะกับพลังงาน ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็นของโลกในวันที่ 21 ธ.ค. 2012 เวลา 23.11 น. (11.11 pm ตามเวลาสากล)

สมมติว่า มีมนุษย์เหลือรอดบนโลก ก็ไม่อาจรู้ว่าจะจำตัวเองได้หรือไม่ เนื่องจากพลังงานทั้งหลาย แหล่ข้างต้นจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ดีเอ็นเอ นำมาซึ่งการกลายพันธุ์ หรือสรุปคร่าวๆ ได้ว่า ถึงตอนนั้นโลกจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง คนที่รอดต้องดิ้นรนสร้างสิ่งต่างๆ นับจากศูนย์

นอกจากนี้ ยังมีข้อมูลทางธรณีวิทยาที่ชี้ว่า ปี 2012 คือปีที่ซูเปอร์โวลคาโน หรือภูเขาไฟใต้น้ำครบกำหนดเวลา 7.4 หมื่นปีที่จะทำลายหรือระเบิดตัวเอง โดยสัญญาณเตือนภัยครั้งล่าสุด คือ โศกนาฏกรรมคลื่นยักษ์สึนามิเมื่อปี 2004 ที่บอกให้ชาวโลกรู้ว่า โครงสร้างพื้นผิวโลกได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ และการระเบิดของซูเปอร์โวลคาโนอาจไม่ใกล้ไม่ไกลบริเว ณที่เคยเกิดสึนามิมา ก่อน

และเป็นที่น่าสังเกตว่า ระยะหลังมานี้ เกิดเหตุแผ่นดินไหว ดินถล่ม และน้ำในแม่น้ำหรือทะเลสาบเหือดแห้งบ่อยครั้งทั่วโลก เป็นไปได้ที่ส่วนหนึ่งเกิดจากภาวะโลกร้อน แต่ก็ไม่อาจปฏิเสธได้เช่นกันว่าโครงสร้างของพื้นผิวโ ลกกำลังขยับและเปลี่ยน แปลงตัวเองโดยที่มนุษย์ไม่รู้ตัว
ที่มา http://www.thaigaming.com/forward-mail/71632.htm

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Office 2010 (beta) ดาวน์โหลดได้แล้ว


[เอ.อาร์.ไอ.พี, www.arip.co.th] รายงานข่าวล่าสุด เมื่อวานนี้ไมโครซอฟท์ (Microsoft) ได้ประกาศให้ผู้ใช้ทั่วโลกสามารถดาวน์โหลด Office 2010 เวอร์ชันทดลอง (Office 2010 beta) ไปใช้กันได้แล้ว โดยทางบริษัทคาดว่า น่าจะมีผู้ใช้ที่สนใจดาวน์โหลดไปลองใช้อย่างน้อย 1 ล้านราย

"ในกรณีที่คุณใช้ Office 2003 อยู่แล้วเกิดอยากลองใช้ Office 2010 คุณอาจจะรู้สึกว่า เหมือนเริ่มหัดใช้ซอฟต์แวร์กันใหม่เลยทีเดียว เนื่องจากส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface) แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง แต่ถ้าคุ้นเคยกับ Office 2007 อยู่แล้ว คุณจะสามารถใช้ออฟฟิศรุ่นใหม่ได้อย่างรวดเร็ว" Chris Capossela รองประธานอาวุโสแผนกธุรกิจของไมโครซอฟท์ กล่าว

เขายังกล่าวอีกด้วยว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่เกิดขึ้นในช่วงรอยต่อระหว่าง Office 2003 และ Office 2007 จะไม่ได้มีความแตกต่างของอินเตอร์เฟซมากนัก เมื่อขยับขึ้นมาใช้ Office 2010 แต่ผู้ใช้จะรู้สึกว่า มันใช้งานง่าย และมีหลายสิ่งหลายอย่างที่ลงตัวกว่าเดิมมาก นอกจากนี้ Capossela ยังเชื่ออีกด้วยว่า ผู้ใช้จะต้องรู้สึกตื่นเต้นกับคุณสมบัติใหม่ๆ มากมายทีมาพร้อมกับออฟฟิศ 2010 อย่างเช่น

ฟังก์ชันใหม่สำหรับแก้ไขวิดีโอในสไลด์ของโปรแกรม PowerPoint
ฟังก์ชันร่วมแก้ไขเอกสารใน Word ที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สองคนสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงไฟล์เอกสารได้พร้อมกัน
การจัดการอีเมล์ใน Outlook และความสามารถในการผูกบัญชีผู้ใช้ Outlook เข้าไปในเว็บไซต์เครือข่ายสังคม (Social networks) ที่คุณชื่นชอบ
"นี่ถือเป็นอีกหนึ่งหลักไมล์ของโปรแกรม Office ที่ใครก็สามารถใช้งาน และสนุกไปกับคุณสมบัติต่างๆ ของซอฟต์แวร์ได้อย่างครบครัน" Capossela กล่าว สำหรับกำหนดการวางตลาดของ Office 2010 จะอยู่ในช่วงประมาณกลางปี 2010 ดาวน์โหลด Office 2010 เวอร์ชันทดลอง

ข้อมูลจาก: Channelweb
ที่มา http://www.arip.co.th/news.php?id=410352

เป้าหมายการพัฒนาครูในการปฏิรูปการศึกษารอบสอง

รมว.ศธ.กล่าวว่า ครูถือเป็นหัวใจสำคัญอย่างยิ่งของการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ซึ่งต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยได้นำแนวทางการพัฒนาครูบรรจุไว้ตามนโยบายในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง คือ"นโยบาย ๓ ดี ๔ ใหม่" (๓ดี คือ Democracy-Decency-Drug-free และ ๔ใหม่ คือ การสร้างคนไทยยุคใหม่-ครูยุคใหม่-แหล่งเรียนรู้และสถานศึกษายุคใหม่-ระบบบริหารจัดการแบบใหม่) นอกจากนี้ยังมีนโยบายต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมทั้งในส่วนของการเพิ่มศักยภาพครู การให้คนเก่งเข้ามาเป็นครูมากขึ้น การเพิ่มขวัญกำลังใจให้ครู โดยขอยกตัวอย่างในบางโครงการที่ดำเนินการไปแล้วเพื่อให้เห็นภาพ ดังนี้
การอบรมพัฒนาครูขนานใหญ่ทั้งระบบ เดิมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จัดอบรมพัฒนาครูเฉลี่ยปีละ ๒,๐๐๐ คนเท่านั้น ในขณะที่ครู สพฐ.มีจำนวนมากถึง ๔๕๐,๐๐๐ คน ดังนั้นเพื่อไม่ให้ความก้าวหน้าของโลกล้ำหน้าครูไปมากกว่านี้ จึงมีโครงการที่จะพัฒนาครูและผู้บริหารทุกคนในปีงบประมาณ ๒๕๕๓ โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษาจะเริ่มอบรมให้เสร็จในปีเดียว เพราะหากผู้บริหารสถานศึกษาไม่ได้เรื่องหรือไม่เข้าใจการปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาตนเองแล้ว จะกลายเป็นปัญหาสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาสถานศึกษานั้นๆ เพราะครูก็จะทำอะไรไม่ได้ สำหรับครูในบางวิชา เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จะให้ทางศูนย์เรคแซม มาเลเซีย มาช่วยอบรมพัฒนาโดยนำระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาช่วยการอบรมในช่วงปิดเทอมนี้ ส่วนขั้นตอนการอบรมครูนั้นจะเน้นเป็นรายคน เพื่อเป็นการให้ยาถูกขนาน มีการทดสอบทั้งก่อนและหลังการอบรม มีการให้เกรดในการประเมินผล อบรมเสร็จแล้วจะมีสื่อการสอนสมัยใหม่ติดตัวไปด้วย โดยไม่ให้กลับไปมือเปล่า พร้อมมีระบบกำกับติดตามผลการอบรมด้วย โดย ศธ.จัดเตรียมงบประมาณไว้แล้ว ๘,๐๐๐ ล้านในการพัฒนาครูขนานใหญ่ทั้งระบบทุกสังกัดในปีนี้
ครูพันธุ์ใหม่ เดิมได้กำหนดเกรดเฉลี่ยผู้ที่จะเข้าเป็นครูพันธุ์ใหม่ไว้ที่ ๒.๗๕ แต่ตนเห็นว่าอยากได้เกรดเฉลี่ย ๓.๐ ขึ้นไป ซึ่งคงจะต้องนำไปหารือกันอีกภายหลัง อย่างไรก็ตามโครงการครูพันธุ์ใหม่นี้ได้รับความสนใจสอบถามจากเด็กๆ ผ่านรายการ Tutor Channel กันอย่างมากมาย
โครงการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด โดย ครม.ได้อนุมัติให้ข้าราชการที่เหลือ สพฐ.อีก ๑,๓๑๒ ราย ได้เข้าร่วมโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด โดยใช้งบประมาณของ สพฐ.ปี ๒๕๕๓ เจียดจ่ายช่วยเหลือไปก่อนประมาณ ๑๐๐ ล้านบาท และมีเงื่อนไขว่าเงินขวัญถุงจำนวน ๘-๑๕ เท่าของเงินเดือน ขอให้จ่ายเพียง ๙ เท่าก่อนในปี ๒๕๕๓ ส่วนที่เหลือจะจ่ายในปีงบประมาณ ๒๕๕๔
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (TQF) เพื่อคุมคุณภาพการผลิตครูของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ผลิตครู ให้ได้คุณภาพและมาตรฐานมากขึ้น โดยจะเริ่มบังคับใช้ในต้นปี ๒๕๕๓
การผลิตครูเชิงปริมาณ ได้ให้ อ.วรากรณ์ สามโกเศศ รับผิดชอบเพื่อพิจารณาดูปริมาณครูและความต้องการครูในอนาคต ๑๐ ปีข้างหน้าว่าต้องผลิตครูจำนวนเท่าใด และควรผลิตสาขาใดบ้าง เพื่อให้สถาบันการอุดมศึกษาที่ผลิตครูทั้ง ๗๑ แห่งรับไปผลิตไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน นอกจากนี้อีกส่วนที่กำลังประสบวิกฤตขาดแคลนอย่างมากคือ การผลิตครูของครู หรือผลิตผู้จบปริญญาโทและเอกไปสอนในคณะศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์
การประเมินวิทยฐานะครู ได้เริ่มใช้เกณฑ์ประเมินวิทยฐานะครูใหม่ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ เพื่อใช้สำหรับวัดคุณภาพ ความสามารถ และผลงานอันเป็นที่ประจักษ์ ซึ่งกล่าวโดยสรุปก็คือ ประเมินครูให้เป็นคนเก่ง ดี มีผลงาน โดยค่าของการประเมิน ๖๐% จะวัดไปที่ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ส่วนอีก ๔๐% ดูที่การวิจัยในห้องเรียนซึ่งโยงไปถึงผลสัมฤทธิ์ในห้องเรียนของนักเรียนด้วย
โครงสร้างเงินเดือนครู กำลังดำเนินการปรับระบบเพดานเงินเดือนครูจากปัจจุบันให้เท่ากับระบบเพดานเงินเดือนของ ก.พ. และเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว จะมีผลให้เพดานเงินเดือนขั้นสูงขั้นต่ำของครูเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย ๘%
การแยกประถม-มัธยมฯ เพื่อเน้นไปที่คุณภาพของการศึกษาเป็นหลัก ขณะนี้ความคืบหน้าอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา โดย ศธ.ได้เตรียมงบประมาณในการยกระดับคุณภาพของมัธยมฯ ๙,๐๐๐ ล้านบาท เพราะต้องยอมรับความจริงว่าปรัชญาการสอนของครูมัธยม-ประถมฯ ต่างกัน หากจะให้ครูมัธยมฯ ไปสอนเด็ก ป.๑ ก็เป็นคนละเรื่องกันเลย ไปไม่รอด นโยบายนี้ถือเป็นการแยกเพื่อคุณภาพ เป็นการใช้คนให้เหมาะกับงาน
อนาคตที่คิดจะทำต่อไป อย่างน้อย ๒ เรื่อง คือ การพัฒนาสถาบันการผลิตและพัฒนาครูฯ จ.นครปฐม ให้เป็นเสมือนสถาบันที่ผลิตนายอำเภอ สถาบันพระปกเกล้า โดยจะให้เป็นศูนย์กลางในอบรมผู้บริหารก่อนเข้าสู่ตำแหน่งหลังจากผ่านการสอบคัดเลือกแล้ว เพื่อเป็นการพัฒนาภาวะผู้นำและศักยภาพในการบริหาร ส่วนอีกเรื่องหนึ่งคือ การตั้งสถาบันคุรุศึกษา ซึ่งคงจะเกิดขึ้นได้ยาก เพราะคนเห็นด้วยจำนวนน้อยมาก จึงได้พิจารณาดำเนินการไปในรูปแบบคณะกรรมการคุรุศึกษาแทน